แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 แบบจำลองระบบ System Model.
Advertisements

Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Pro/Desktop.
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Software Development and Management
Database Management System
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การทำ Normalization 14/11/61.
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การบริหารโครงการ Project Management
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Object-Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจ็กต์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล โครงสร้างข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล ความหมายของข้อมูล และเงื่อนไขบังคับความสอดคล้องกันของข้อมูล

แบบจำลองอี-อาร์ (E - R model) Entity- Relationship model : E-R model มีองค์ประกอบดังนี้ -เอนทิตี (Entity) -รีเลชันชิพ (Relationship) เอนทิตี (Entity) หมายถึง วัตถุ (object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างของแต่ละเอนทิตี้ได้

-เอนทิตี (Entity) เอนทิตี (Entity) หมายถึง วัตถุ (object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างของแต่ละเอนทิตี้ได้ กลุ่มของเอนทิตีที่มีคุณสมบัติเหมือนกันจะเรียกว่า เอนทิตีเซต เช่น เอนทิตีเซตของนักเรียน

-รีเลชันชิพ (Relationship) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี พนักงาน ขับ รถยนต์

แผนผังอี-อาร์ (E-R model) รูปสี่เหลี่ยม แทน เอนทิตีเซต วงรี แทน แอตทริบิวต์ สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน แทนรีเลชันชิพ เส้นตรง เชื่อมต่อ

ชนิดของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-วัน (1:1) ความสัมพันธ์แบบวัน-ทู-เมนนี (1:M) ความสัมพันธ์แบบเมนนี-ทู-เมนนี (M:N)

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง 1-1 relationship types นักศึกษา สูติบัตร 1 มี 7

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลาย 1-M relationship types ลูกค้า ใบเสร็จ รับ 7

1:M relationship type

ความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย M-N relationship types อาจารย์ ชั้นเรียน สอน 9

M:N Relationship type

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น มีลักษณะโครงสร้างต้นไม่แบบกลับหัว มีความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีโดยการใช้พอยน์เตอร์ เช่น ความสัมพันธ์รหว่างใบเสร็จ ลูกค้า และการชำระเงิน

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ใช้แก้ไขปัญหาความสัมพันธ์แบบ M:N ของแบบลำดับขั้น แบบจำลองครือข่ายทุกเอนทิตีที่มีความสัมพันธ์จะมีพอยน์เตอร์กำกับไว้ด้วย แบบจำลองเครือข่ายจะสามารถแก้ปัญหาที่แบบลำดับขั้นที่เกิดขึ้นแต่การหาคำตอบค่อนข้างจะซับซ้อน และต้องเข้าใจโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูลเป็นอย่างดี

แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เป็นแบบจำลองที่มีการแสดงข้อมูลในรูปแบบของตาราง โดยในแต่ละตารางจะประกอบด้วยแถวหรือทับเพิล(Tuple) จำนวนหนึ่ง และในแต่ละทัปเพิลจะประกอบด้วยหลายแอตทริบิวต์ ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะซ่อนความซับซ้อนขอระบบไว้ภายใน ทำให้ผู้ใช้หรือออกแบบไม่รู้สึกถึงความยุ่งยาก และยังมีภาษา Structured Query Language (SQL) สนับสนุน

แบบจำลองฐานข้อมูลแบบออบเจกต์ ฐานข้อมูลแบบออบเจกต์จะประกอบด้วยชุดของคลาส โดยโครงสร้างจะประกอบด้วย attribute และ method