Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Nickle.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
แมกนีเซียม (Magnesium).
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
วัณโรคปอด สาเหตุการเกิดโรค วัณโรคการติดต่อได้อย่างไร การรักษาวัณโรค
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
ผลร้ายจากยาเสพติด 1. ต้องการเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. เกิดความต้องการเสพยาอย่างรุนแรงตลอดเวลา 3. เมื่อไม่ได้เสพจะทำให้เกิดอาการ.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นาย กองทัพ ปรีเดช เลขที่1ก ชั้นม.5/1
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
โรค หรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติ ของระบบภูมิคุ้มกัน
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
วิชาการผลิตสุกร ระดับปวส.
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักศึกษาคิดว่าเกิดอะไรขึ้นกับชายคนนี้ หลังถูกกระดาษบาด 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา

Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12 สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 By Amporn Thiengtrongdee

วัตถุประสงค์ เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้เรื่องโรคต่างๆ ทราบกระบวนการของการติดเชื้อ ทราบอาการ อาการแสดงของการติดเชื้อ

จุลชีพเข้าสู่ร่างกาย colonization เกิดโรค Normal microbial flora ไม่เกิดโรค จุลชีพเข้าเนื้อเยื่อที่ไม่ควรจะมี Normal microbial flora เนื้อเยื่อตอบสนองต่อจุลชีพ และ Toxin

จุลชีพที่อาศัยในร่างกายมนุษย์มี 5 จำพวก Bacteria Virus Parasite Rickettsia Fungus

ความหมายของคำในการติดเชื้อ Pathogenic microorganism Non Pathogenic microorganism Saprophyte เช่น E. coli ช่วยสร้าง Vit. K ช่วยให้เลือดแข็งตัว Virulent microoganism จุลชีพที่มีความสามารถในการก่อโรคสูง

ความหมายของคำในการติดเชื้อ(ต่อ) Opportunistic microoganism จุลชีพฉวยโอกาส -> candida albicans ทำให้เกิดโรคใน Compromised host (ภูมิคุ้มกันต่ำ) Organotropism อวัยวะที่จุลชีพชอบเข้าไปอยู่ Rabies virus ชอบอยู่ในระบบประสาทกลาง Subclinical Infection ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการของโรค เช่น หัดเยอรมัน หรือ เป็น carrier เช่น ทัยฟอยด์

ความหมายของคำในการติดเชื้อ(ต่อ) Latent infection การติดเชื้อแอบแฝง เชื้ออยู่ในร่างกายตลอดเวลา เช่น Herpes simplex เชื้อฝังอยู่ในปมประสาท จะเกิดอาการเมื่อเครียด ติดเชื้อ มีระดู สัมผัสแสงแดดมาก Communicable disease โรคที่ติดต่อไปยังผู้อื่นได้

5 Portal of entry ผิวหนังหรือเยื่อเมือก ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางสายรก

สาเหตุของการเจ็บป่วยเมื่อเชื้อเข้าร่างกาย เชื้อทำร้ายเซลล์ของร่างกายโดยตรง เช่น ไวรัส ปล่อย endotoxin หรือ exotoxin ทำลายเซลล์ เกิดปฏิกิริยาอิมมูน ทำให้เกิด Inflamation เป็นการยับยั้งเชื้อ ถ้ายับยั้งไม่ได้เชื้อเข้ากระแสเลือด ทำให้เกิด Septicemia

Tonsilitis

Herpes simplex

ลักษณะทางคลินิก ระยะฟักตัว (Incubation peroid) เกิด Inflamation และปฏิกิริยาภูมคุ้มกัน อาการนำ (Prodomal symptom) ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เป็นไข้ ระยะการดำเนินของโรค (course of infection) ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับ ตัวจุลชีพ ปัจจัยด้านร่างกายของผู้รับเชื้อ

ผลของการติดเชื้อ ผลเฉพาะที่ (local effect) เชื้อเข้าสู่ร่างกายน้อย ร่างกายต่อสู้ได้ เกิดภาวะติดเชื้อเฉพาะที่ (localized infection) ถ้าร่างกายไม่สามารถต่อสู้ได้จะเกิดการติดเชื้อแบบกระจายทั่วไป (systemic infection) กระจายโดยตรงสู่เนื้อเยื่อรอบๆบริเวณที่อักเสบ กระจายไปทางหลอดน้ำเหลือง กระจายไปทางกระแสเลือด แล้วไปสู่อวัยวะต่างๆ เกิดปฏิกิริยาสร้างภูมิคุ้มกัน

ภาวะที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ Bacteremia เชื้อเข้าอยู่ในกระแสเลือดชั่วคราว ไม่มีอาการ แล้วเกิด Phagocytosis ถ้าเกิดจาก virus เรียก viremia Toxemia ภาวะที่มี toxin ในกระแสเลือด เช่น เชื้อโรคคอตีบ Colonebacterium diphtheria, Tetanus เป็น neurotoxin อาจทำให้เกิดอัมพาต Septicemia การมีเชื้อและสารพิษ ในกระแสเลือดและมีอาการทางคลินิกร่วมด้วย

การติดเชื้อราบริเวณเล็บ

Staphylococcus Infection

แผลริมอ่อน ในโรคซิฟิลิส

Blood stream Infection

Septicemia

จุลชีพเข้าสู่กระแสเลือดได้ 3 ทาง เข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง ก้อนThrombus ในเส้นเลือดที่อักเสบฉีกขาดและกระจายไปตามกระแสเลือด หลอดน้ำเหลืองอักเสบ (lymphagitis) ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ (lymphadenitis) แล้วปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางท่อน้ำเหลืองทรวงอก (thoracic duct)

พยาธิวิทยาเมื่อเกิด septicemia Toxin ทำให้หัวใจ ตับ ไต กล้ามเนื้อลายเสื่อมสภาพ ต่อมไทมัสในเด็กเหี่ยวลง ตับม้ามและต่อมน้ำเหลืองมีเนื้อตายเป็นหย่อม (focal necrosis) Reticuloendothelial hyperplasia ของม้าม ตับ ต่อมน้ำเหลืองทำให้โตขึ้น ไขกระดูกมีเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวมากขึ้น บริเวณ sinus มี polymorphs, macrophage มาก

พยาธิวิทยาเมื่อเกิด septicemia (ต่อ) 4. ม้ามอักเสบเฉียบพลัน ขนาดโตขึ้น มีเลือดคั่ง มี polymorphs จำนวนมาก 5. เกิดภาวะเลือดคั่งและเลือดออก จากเส้นเลือดฝอยฉีกขาด ทำให้มีเลือดออกที่ผิวหนัง เยื่อบุ และต่อมหมวกไต 6. เม็ดเลือดแดงสลายตัว เกิด Hemolytic anemia 7. เกิดอักเสบเฉียบพลันตามอวัยวะต่างๆ เช่น ลิ้นหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง

ภาวะที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ (ต่อ) Pyemia การติดเชื้อแบบ septicemia มีการเกาะกลุ่มเป็น thrombi ไปตามส่วนต่างๆทำให้เกิดหนอง เชื้อที่พบบ่อยคือ staphylococcus aureus หรือเกาะเป็นกลุ่ม (agglutinated clumps) ขนาดใหญ่ อาจไปอุดเส้นเลือดดำ ทำให้เกิดเนื้อตายจากการขาดเลือด Nosocomial Infection การติดเชื้อในโรงพยาบาล Primary Infection การติดเชื้อเริ่มที่เชื้อใดเชื้อหนึ่ง Secondary Infection เชื้อแรกยังไม่หาย ติดเชื้อใหม่ซ้ำ Mixed Infection การติดเชื้อพร้อมกันหลายๆตัว

อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ อาการร่วม อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร

อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ(ต่อ) อาการสำคัญ ไข้จากเชื้อเข้าร่างกาย เม็ดเลือดขาวหลั่งสาร endogenous pyogen hypothalamus อุณหภูมิสูง  chill เด็กที่อายุ < 6 ขวบอาจชักได้เนื่องจากระบบประสาทยังไม่พัฒนาเต็มที่

อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ(ต่อ) อาการสำคัญ การเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา เมื่อเกิดการติดเชื้อเม็ดเลือดแดงและองค์ประกอบเปลี่ยนไป ช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ การเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือด Neutrophil เพิ่มมากขึ้นเมื่อติดเชื้อ bacteria Monocyte เพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อ intracellular parasites Atypical lymphocyte เพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อไข้เลือดออก เม็ดเลือดแดงแตกจากการติดเชื้อ Plasmodium falciparum Lymphocyte สูง เมื่อติดเชื้อ Virus

การเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา(ต่อ) อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (Erythrocytic Sedimentation rate:ESR) จะสูง ในภาวะติดเชื้อ อักเสบ โรคของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้องอก การแข็งตัวของเลือด (blood coagulation)การติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบระยะเฉียบพลัน การแข็งตัวของเลือดเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ(thrombocytopenia) จะเกิดภาวะ DIC:Disseminated intravascular coagulation) Plasma protein เพิ่มขึ้น ช่วยให้เม็ดเลือดขาวจับเชื้อกินได้ง่ายขึ้น

DIC:Disseminated intravascular coagulation

อาการสำคัญ(ต่อ) ผลจากปฏิกิริยาทางอิมมูน เกิดปฏิกิริยาของ antigen และ antibody ทำให้เป็นผื่น หรือปฏิกิริยาต่อตัวเอง (autoimmune disease) การสร้างเซลล์ใหม่ (neoplasia) ทำให้เกิดมะเร็ง หรือเซลล์เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มจำนวน (hyperplasia) ผลของการติดเชื้อต่อสุขภาพโดยรวม ทำให้ร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม

ให้นักศึกษาค้นคว้า Staphylococcus แหล่งที่พบเชื้อ Streptococcus Amoeba Pseudomonas Virus (Influenza H1N1) Virus (HIV) Fungus (ราฉวยโอกาส) Malaria Trichinosis TB แหล่งที่พบเชื้อ ทำให้เกิดโรคอะไรได้บ้าง เกิดพยาธิสภาพอย่างไร เกิดอาการ อาการแสดงอะไร ไม่เกิน 2 หน้า A4

Mycobacterium Tuberculosis แหล่งของเชื้อ เสมหะ นมวัว ฝุ่นละออง ทำให้เกิด วัณโรคปอด วัณโรคต่อมน้ำเหลือง วัณโรคกระดูก วัณโรคผิวหนัง พยาธิสภาพ เชื้อ Mycobacterium Tuberculosis เข้าสู่ร่างกายโดยทางหายใจ..... อาการ ไข้ต่ำๆตอนบ่าย ไอ น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน

รูปที่. แสดงทางเข้าและทางแพร่ของเชื้อไวรัส ที่มา www. blc. arizona รูปที่... แสดงทางเข้าและทางแพร่ของเชื้อไวรัส ที่มา www.blc.arizona.edu/.../ Figures/entry.GIF

ไปหละ.. ปู้นๆๆ