ประวัติดนตรีสากล ดนตรีตะวันตกแบ่งเป็น 7 สมัยใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. 850 – 1450 ) 2. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา.
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ศาสนาคริสต์111
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
บทบาทหน้าที่ในงานนาฏศิลป์
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
ความหมายของเรียงความ
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
THE4404 คติชนวิทยาสำหรับครู
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
ยิ้มก่อนเรียน.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ครู นภัสสร วงศรีคุณถาวร โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
(Code of Ethics of Teaching Profession)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติดนตรีสากล ดนตรีตะวันตกแบ่งเป็น 7 สมัยใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. 850 – 1450 ) 2. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period ค.ศ. 1450 – 1600 ) 3. สมัยบาโรค ( Baroque ค.ศ. 1650 – 1750 ) 4. สมัยคลาสสิค ( Classical Period ค.ศ. 1750 – 1825 ) 5. สมัยโรแมนติก ( Romantic Period ค.ศ. 1825 – 1900 ) 6. สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ( Impressionism ค.ศ. 1850 – 1930 ) 7. สมัยคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน )

สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. 850 – 1450 )

สมัยกลาง ค.ศ.850-1450 ก่อนสมัยนี้ราวศตวรรษที่ 6 ดนตรีขึ้นอยู่กับศาสนา Pope Gregorian เป็นผู้รวบรวมบทสวด เป็นทำนองเดียว โดยได้ต้นฉบับจากกรก เป็นภาษาลาติน ต่อมาจึงมี 2 ทำนอง ศตวรรษที่ 11 การศึกษาเริ่มในโบสถ์ในสมัยกลางนี้เองได้เริ่มบันทึกตัวโน้ต โดยมีพระองค์หนึ่งเป็นชาวอิตาเลียนชื่อ Guido D. Arezzo ได้สังเกตเพลงสวดเก่าแก่เป็นภาษาลาตินเพลงหนึ่งแต่ละประโยคจะมีเสียงค่อยๆ สูงขึ้น จึงนำเอาเฉพาะตัวแรกของบทสวดมาเรียงกัน จึงออกเป็น Do Re Mi Fa Sol La Te Do ต่อมา ค.ศ. 1300 คนตรีก็เริ่มเกี่ยวกับศาสนาอย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

( The Renaissance Period ค.ศ. 1450 – 1600 ) สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period ค.ศ. 1450 – 1600 )

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ค. ศ. 1450-1600 ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ. ศ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ค.ศ. 1450-1600 ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1993-2143 ตรงกับสมัยโคลัมบัส และเชคเปียร์ ดนตรีในยุคนี้มักจะเป็นการร้องหมู่เล็กๆ ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการร้องเพื่อสรรเสริญพระเจ้า ร้องกันในโบสถ์มี 4 แนว คือ โซปราโน อัลโต เทเนอร์ และเบส การร้องจะมีออร์แกนหรือขลุ่ยคลอ ดนตรีในสมัยนี้ยังไม่มีโน้ตอ่าน และมักเล่นตามเสียงร้อง

สมัยบาโรค ( Baroque ค.ศ. 1650 – 1750 )

สมัยบาโรค ค. ศ. 1650-1750 ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ. ศ สมัยบาโรค ค.ศ. 1650-1750 ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2143-2293 และนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ได้แก่ บาค ไฮเดิน ในยุคต้นของสมัยบาโรคมีเครื่องดนตรีประมาณ 20-30 ชิ้นสลับกันเล่น เพื่อให้มีรสชาติในการฟังเครื่องดนตรีในคลอเสียงร้อง เช่น ลิ้วท์ ขลุ่ย ต่อมาได้วิวัฒนาการใช้เครื่องสายมากขึ้นเพื่อประกอบการเต้นรำ รวมทั้งเครื่องลมไม้ด้วย ในสมัยนี้ผู้อำนวยเพลงจะเล่นฮาร์พซิคอร์ด

( Classical Period ค.ศ. 1750 – 1825 ) สมัยคลาสสิค ( Classical Period ค.ศ. 1750 – 1825 )

สมัยคลาสสิก ค. ศ. 1750-1825 ตั้งแต่ พ. ศ สมัยคลาสสิก ค.ศ. 1750-1825 ตั้งแต่ พ.ศ. 2273-2368 สมัยนี้ตรงกับการปฎิวัติและการปฏิรูปในอเมริกา ไฮเดินเป็นผู้เริ่มในการแต่งเพลงแบบคลาสสิก การแต่งเพลงในยุคนี้เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการของคีตกวีที่จะเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับลีลา และโอกาสตามอารมณ์ของดนตรี เช่น ดนตรีลักษณะหวานก็ใช้ไวโอลิน ถ้าแสดงความองอาจกล้าหาญ ก็ใช้แตรทรัมเป็ต มีการเดี่ยวเครื่องดนตรี นักดนตรีต้องศึกษาและเล่นให้ถูกต้องตามแบบแผน เพราะดนตรีในยุคนี้เริ่มเข้าร่องเข้ารอย คีตกวีในยุคนี้มี ไฮเดิน โมสาร์ท กลุ๊ก บีโธเฟน โดยเฉพาะบีโธเฟนเป็นคีตกวีสมัยโรแมนติกด้วย

สมัยโรแมนติก ( Romantic Period ค.ศ. 1825 – 1900 )

สมัยโรแมนติก ค.ศ. 1825-1900 พ.ศ. 2368-2443 สมัยนี้ตรงกับสมัยนโปเลียนแห่งฝรั่งเศส เพลงในสมัยนี้ ผิดไปจากเพลงในสมัยเก่าก่อน คือเมื่อก่อนเริ่มแรกเกี่ยวกับศาสนา ต่อมามีการเลือกใช้เครื่องดนตรีและสมัยนี้ จะแต่งตามจุดประสงค์ตามความคิดฝัน ของกวี เน้นอารมณ์เป็นสำคัญ นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี ชูเบิร์ต เสต้ราส์ เมนโดโซน โชแปง ชุมานน์ บราหมส์ ไชคอฟสกี้ โดยเฉพาะเพลงในยุคนี้ แต่ละประเทศในยุโรปจะมีความนิยมไม่เหมือนกัน เช่นลักษณะของเพลงร้อง เพลงประกอบละคร เพลงเต้นรำแบบวอลท์ เป็นไปตามคีตกวีและความนิยมส่วนใหญ่

สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ( Impressionism ค.ศ. 1850 – 1930 )

สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ค. ศ. 1850-1930 ประมาณ พ. ศ สมัยอิมเพรสชั่นนิสซึม ค.ศ. 1850-1930 ประมาณ พ.ศ. 2393-2473 เป็นสมัยแห่งการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ดัดแปลงดั้งเดิมจากสมัยโรแมนติกให้แปลกออกไปตามจินตนาการของผู้แต่ง เปรียบเทียบได้กับการใช้สีสันการเขียนรูปให็ฉูดฉาด ในด้านดนตรีผู้ประพันธ์มักสรรหาเครื่องดนตรีแปลกๆ จากต่างประเทศ เช่นจากอินเดียมาผสมให้มีรสชาติดีขึ้น การประสานเสียงบางครั้งแปร่งๆ ไม่รื่นหูเหมือนสมัยก่อน ทำนองเพลงอาจนำมาจากทางเอเชียหรือประเทศใกล้เคียง แล้วมาดัดแปลงให้เหมาะกับดุริยางค์ นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมี คลาวด์อบุชชี อิกอร์ สตราวินสกี อาร์โนลด์ โชนเบิร์ล

( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน ) สมัยคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน )

สมัยคอนเทคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค. ศ สมัยคอนเทคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน ) หรือ Modern Music – Eletronics ตั้งแต่ พ.ศ. 2473 จนถึงปัจจุบัน ชีวิตของคนในปัจจุบันอยู่กับความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ได้รู้ได้เห็นสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เช่น ไอพ่น ยานอวกาศโทรทัศน์ นักแต่งเพลงปัจจุบัน จึงเปลี่ยนวิธีการของการประพันธ์เพลงให้เป็นไปในแบบปัจจุบัน