หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
Communication Software
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูล.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ 1 โรงเรียนศรี สำโรงชนูปถัมภ์ จังหวัดสุโขทัย

เนื้อหา ความหมายของ โปรโตคอล โปรโตคอลที่สำคัญที่พบ ได้บ่อย ในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โปรโตคอล (Protocol ) IP Address, Subnetwork การตรวจสอบ IP Address

โปรโตคอ ล (Protocol) การเชื่อมโยงเครือข่ายที่มี ฮาร์ดแวร์ต่างกันจำเป็น ต้องกำหนดข้อตกลงร่วม ความหมายของ (Protocol ) เรียกว่า โปรโตคอล ( protocol ) ซึ่งการกำหนด Protocol มีไว้เพื่อให้ คอมพิวเตอร์สื่อสารกันตาม ข้อกำหนด

โปรโตคอ ล (Protocol) 1. โปรโตคอล TCP/IP ( ทีซีพี / ไอ พี ) โปรโตคอลที่สำคัญที่พบได้บ่อยใน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพี เอ็ก / เอสพีเอส ) 3. โปรโตคอล NetBEUI ( เน็ตบีอียู ไอ )

TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้ในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างเครือข่ายและ เป็นโปรโตคอลหลักของเครือข่าย อินเตอร์เน็ต 1. โปรโตคอล TCP/IP ( ทีซีพี / ไอพี ) เป็นโปรโตคอลที่เหมาะสำหรับ เครือข่ายขนาดใหญ่ และเป็น โปรโตคอลที่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เลือกใช้ ดังนั้นเครือข่ายอื่นๆ ที่จะติดต่อ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตต้องมี โปรโตคอลนี้ด้วย

IPX / SPX เป็นการรวม 2 โปรโตคอลเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นโปรโตคอลหลักในการ ติดต่อสื่อสาร ในเครือข่ายที่ใช้ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย NetWare 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพีเอ็ก / เอสพีเอส ) IPX (InterNetwork Packet Exchange) ใช้ในการส่งข้อมูล ระหว่างอุปกรณ์ที่อยู่ในเครือข่าย ต่างกัน เมื่อโปรโตคอล IPX ส่งข้อมูล โปรโตคอลนี้จะไม่มีการตรวจสอบ ความผิดพลาดในการส่งข้อมูล

IPX / SPX SPX (Sequenced Packet Exchange) เป็นโปรโตคอลที่ขยาย ความสามารถของโปรโตคอล IPX 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพีเอ็ก / เอสพีเอส ) ( ต่อ ) เมื่อโปรโตคอล SPX ส่งข้อมูล มันจะเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สอง เครือข่ายและคอยตรวจสอบการส่ง ข้อมูล เหมือนกับการรับประกันว่าการส่ง ข้อมูลไม่มีการผิดพลาด

NetBEUI เป็นโปรโตคอลที่ใช้เครือข่ายเล็กๆ ที่ใช้ระบบ ปฏิบัติการของไมโครซอฟต์ 3. โปรโตคอล NetBEUI ( เน็ตบีอียู ไอ ) เป็นโปรโตคอลขนาดเล็กที่มี ประสิทธิภาพสูง เนื่องจากไม่ต้องการ หน่วยความจำและพลังการประมวลใน การทำงานมาก ทำให้ NetBEUI สามารถส่ง ข้อมูลได้เร็วกว่าโปรโตคอลอื่น ๆ แต่โปรโตคอลนี้ไม่สามารถใช้ใน เครือข่ายบริเวณกว้างได้

IP Address เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดอยู่บน อินเตอร์เน็ตก็เปรียบคล้าย ๆ กับ เครื่องโทรศัพท์ที่มีเบอร์เฉพาะตัว ซึ่งก็จะมีเพียงเบอร์เดียวในโลก IP Address (Internet Protocal) address IP Address เป็นตัวเลขที่ผู้ดูแลระบบ กำหนดขึ้นมา จะไม่ซ้ำกันถ้าอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน และใช้ตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดใช้ 8 บิต ( รวม 32 บิต ) อ้างอิงค่าได้ 0 ถึง 255 ในแต่ละชุด –

 IP Address เป็นตัวเลขขนาด 32 บิต แบ่ง ออกเป็น 4 ชุด ๆ ละ 8 บิต  ดังนั้นตัวเลข 1 ชุดที่เราเห็นคั่นด้วยจุดนั้น จึงแทนได้ ด้วยตัวเลขจาก 0 ถึง 255  ตัวเลข 4 ชุดนี้จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ Network Number และส่วนของ Host Number  โดยขนาดของแต่ละส่วนจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับว่า เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นอยู่ในเน็ตเวิร์ค Class ใด ซึ่ง Class ของเน็ตเวิร์คแบ่งออกเป็น 4 Classes ดังนี้ IP Address (Internet Protocal) address –

IP address ประกอบด้วยเลขฐานสอง 32 หลัก ดังนั้นในแต่ละหลักของคลาส แบบต่างๆ ของ IP address จะเป็นดังนี้ IP Address (Internet Protocal) address > คลาส A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnn n > คลาส B 10NNNNNN.NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnn nn > คลาส C 110NNNNN.NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnn nnnn > คลาส D 1110nnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn > คลาส E 1111nnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn N คือหมายเลขเครือข่าย (Network address) n คือหมายเลขอุปกรณ์เครือข่าย (Host address)

IP Address (Internet Protocal) address 1. Class A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnn nnn.nnnnnnnn  Class A เป็นเน็ตเวิร์คขนาดใหญ่ ระดับประเทศ ระดับโลก  มี Network Number ตั้งแต่ ถึง  นั่นคือใน Class นี้จะมีส่วนของ Host Number ถึง 24 บิต ซึ่งอนุญาตให้มีจำนวนเครื่องได้ 1.6 ล้าน เครื่องใน 1 เน็ตเวิร์ค  ซึ่งจะมีเน็ตเวิร์คขนาดใหญ่แบบนี้ได้เพียง 127 เน็ตเวิร์คเท่านั้น

IP Address (Internet Protocal) address 1. Class A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnn nnn.nnnnnnnn ขึ้นต้นหลัก แรก ด้วยค่า 0 7 หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) 1 ถึง 126 (126 ตำแหน่ง ) 24 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) ถึง ( 16,777,214 ตำแหน่ง )

IP Address (Internet Protocal) address 2. Class B 10NNNNNN. NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnn nn  เป็นเน็ตเวิร์คขนาดกลาง บริษัท มหาวิทยาลัย  มี Network number ตั้งแต่ ถึง  นั่นคือใน Class นี้มีส่วนของ Network Number 16 บิต  และส่วนของ Host Number ได้ 16 บิต  ทำให้มีจำนวนเน็ตเวิร์คได้ถึง เน็ตเวิร์ค และ Host

IP Address (Internet Protocal) address 2. Class B 10NNNNNN. NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnnn n ขึ้นต้น 2 หลักแรก ด้วยค่า หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) ถึง ( 16,384 ตำแหน่ง ) 16 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) 0.1 ถึง ( 65,534 ตำแหน่ง )

IP Address (Internet Protocal) address 3. Class C 110NNNNN. NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnnnnn n  เป็นเน็ตเวิร์คขนาดเล็ก มี Network Number ตั้งแต่ ถึง  นั่นคือใน Class นี้มีส่วนของ Network Number 24 บิต และส่วนของ Host Number 8 บิต  ทำให้มีจำนวนของเน็ตเวิร์คได้ถึง 2 ล้าน เน็ตเวิร์คและมีจำนวน Host ในแต่ละเน็ตเวิร์คเท่ากับ 254 Hosts

IP Address (Internet Protocal) address 3. Class C 110NNNNN. NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnnn nnn ขึ้นต้น 3 หลักแรก ด้วยค่า หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) ถึง ( 2,097,152 ตำแหน่ง ) 8 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) 1 ถึง 254 ( 254 ตำแหน่ง )

IP Address (Internet Protocal) address 4. Class D 1110nnnn.nnnnnnnn.nnnnnn nn.nnnnnnnn  เป็นส่วนที่เก็บรักษาไว้สำหรับใช้ในอนาคต สำหรับส่งข้อมูลแบบ Multicast ( ไม่มีการใช้งาน จริง ) มี IP Address ตั้งแต่ ถึง

IP Address (Internet Protocal) address 5. Class E 1111nnnn.nnnnnnnn.nnnnnn nn.nnnnnnnn  สำรองไว้เพื่อการพัฒนา

Subnet work  Subnetwork หรือ Subnet คือการแบ่ง IP Address ออกเป็นเครือข่ายย่อยๆ  เนื่องจากการแบ่งจำนวนเครือข่ายย่อย และจำนวน อุปกรณ์เครือข่าย ในแต่ละคลาสไม่เท่ากัน  ดังนั้นจึงต้องมีตัวช่วยเพื่อใช้แบ่งว่า IP Address ส่วนใดที่ใช้เป็น ตำแหน่งเครือข่าย (Network address) และส่วนใดใช้เป็น ตำแหน่งอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) ซึ่งตัวช่วยดังกล่าวเราจะ เรียกว่า Subnet mark

Subnet work  Subnet mark ของแต่ละคลาสจะเป็นดังนี้ > คลาส A > คลาส B > คลาส C  เมื่อเรารู้ IP Address และ Subnet mark เราก็ สามารถหาตำแหน่งเครือข่าย (Network Address) และตำแหน่งอุปกรณ์เครือข่าย (Host Address) ได้ ไม่ยาก

การตรวจสอบ IP Address คลิกที่ปุ่ม Start 1

การตรวจสอบ IP Address