Test 4 1. data mining คืออะไร. (อธิบายเป็นแผนภาพประกอบด้วย) 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
Management Information System of Air Conditioner Store
Thesis รุ่น 1.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
การขุดค้นข้อมูล (Data Mining)
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
1. วางแผนสำรวจความรู้ที่สำคัญ และจำเป็นที่ต้องใช้ในการ ปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างๆ 2. ค้นหาความรู้ที่สำคัญ และ จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้
Knowledge Management (KM)
การวิจัยการศึกษา.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
Data Mining นำเสนอโดย อาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ คณะสารสนเทศศาสตร์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การเงิน.
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Transaction Processing Systems
บทบาทผู้นำองค์กร. ผลของการนำองค์กรที่ ผิดพลาด รอดมาได้
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
Information communication & Technology C31102 ICT2.
การเขียนรายงาน.
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
บทที่ 6 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : ข้อมูลทุติยภูมิ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Test 4 1. data mining คืออะไร. (อธิบายเป็นแผนภาพประกอบด้วย) 2 Test 4 1. data mining คืออะไร ? (อธิบายเป็นแผนภาพประกอบด้วย) 2. KKD (Knowledge Discovery in Database) คืออะไร ? 3. จงยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ data mining

Data Mining (DM) ? การทำเหมืองข้อมูล ซึ่งเป็นกระบวนการ ที่แยกข้อมูล (Extract data) จากฐานข้อมูลขนาด ใหญ่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกิดประโยชน์ออกมา โดยเป็นข้อมูลที่มีเหตุผลและหลักฐานที่เชื่อถือได้ อีกทั้งยังสามารถนำไปใช้ได้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ในการที่จะช่วยการตัดสินใจในการทำธุรกิจ Data Miningเป็นกระบวนการที่สำคัญในการทำ Knowledge Discovery in Database (KDD) (เป็นการแยกเอาองค์ความรู้จากฐานข้อมูล เอกสาร e-mail และ อื่นๆ)

การทำงานของ data mining 1. การจัดหมวดหมู่ (Classification) 2. การประเมินค่า (Estimation) 3. การทํานายล่วงหน้า (Prediction) 4. การจัดกลุ่มโดยอาศัยความใกล้ชิด (Affinity Group) 5. การรวมตัว (Clustering) 6. การบรรยาย (Description)

Knowledge Discovery in Database (KDD) ? กระบวนการที่ใช้ค้นหาและแยกสารสนเทศที่มีประโยชน์ออกจากเอกสารและข้อมูลขนาดใหญ่ และงานต่อไปนี้ด้วย: - การคัดแยกองค์ความรู้ (knowledge extraction) - ข้อมูลในอดีต (data archaeology) - การสำรวจข้อมูล (data exploration) - การประมวลรูปแบบข้อมูล (data pattern processing) - data dredging (การขุดข้อมูล) - information harvesting (การเก็บข้อมูล)

การประยุกต์ใช้ Data Mining ด้านการแพทย์ : ใช้ data mining ค้นหาผลข้างเคียงของการใช้ยา โดยอาศัยข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย, ใช้ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของสารพันธุกรรม ด้านการเงิน : ใช้ data mining ตัดสินว่าควรจะอนุมัติเครดิตให้ลูกค้ารายใดบ้างใช้ในการคาดหมายความน่าจะเป็นว่าธุรกิจนั้นๆมีโอกาสที่จะล้มละลายหรือไม่, ใช้คาดหมายการขึ้น/ลงของหุ้นในตลาดหุ้น ด้านการเกษตร : ใช้จำแนกประเภทของโรคพืชที่เกิดกับถั่วเหลืองและมะเขือเทศ ด้านวิศวกรรม : ใช้วิเคราะห์และวินิจฉัยสาเหตุการทำงานผิดพลาดของเครื่องจักรกล ด้านอาชญวิทยา : ใช้วิเคราะห์หาเจ้าของลายนิ้วมือ ด้านอวกาศ : ใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่ส่งมาจากดาวเทียมขององค์การนาซ่า