ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ความหลากหลายของสัตว์
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
BIO-ECOLOGY 2.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของพะยูน.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
การป้องกันกำจัดหอยทาก
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
หมากเขียว MacAthur Palm
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
หลักการเลือกซื้ออาหาร
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
นางสาว นภาภรณ์ กันทาปา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 14
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
ปลาหางนกยูง.
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน

เต่าหับ จระเข้น้ำ จืด ข้อมูล อ่างอิง

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Cuora amboinensis ลักษณะทั่วไป : เป็นเต่ามีขนาดค่อนข้างเล็ก กระดองบนสีดำ หรือมีสีน้ำตาล ปนบ้าง กระดองล่างสีขาวอมเหลือง หรืออมเขียว ผิวหนังเป็นสีขาวแต่แขน ขามีสีเทา หัวด้านบนเป็นสีดำและมีเส้นสีเหลืองผ่านจากจมูกไปที่คอ ผ่าน ตอนบนของนัยน์ตา และผ่านขอบปากบน ที่ปากล่าง คอ ตา หู มีสีนวล เหลือง ที่กระดองล่างแบ่งกลางออกเป็นสองส่วน ปิดได้ทั้งด้านหน้าและ หลัง เป็นเต่าชนิดเดียวที่เก็บหัวหาง แขนขา ไว้ในกระดองได้หมด โดยเมื่อ มองจากด้านท้องจะไม่เห็นส่วนอื่นใดยื่นออกมา ถิ่นอาศัย, อาหาร : พบในอินเดีย อินโดจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สำหรับประเทศไทยพบมากแถวภาคกลางและภาคใต้ เต่าหับกินพืช ผัก ผลไม้ ปลา หอย ปู กุ้ง พฤติกรรม, การสืบพันธุ์ : ชอบอยู่ตามห้วย หนอง คลอง บึงทั่วไป ชอบอยู่ บนบกมากกว่าอยู่ในน้ำ ชอบหมกตัวอยู่ตามกอหญ้า เต่าหับผสมพันธุ์ในน้ำ แต่วางไข่บนบก ปีหนึ่งวางไข่หลายครั้ง ทว่าวางไข่ครั้งละ 2-3 ฟองเท่านั้น สถานภาพปัจจุบัน : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 สถานที่ชม : สวนสัตว์ดุสิต, สวนสัตว์นครราชสีมา, สวนสัตว์เชียงใหม่

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Crocodylus siamensis ลักษณะทั่วไป : จระเข้น้ำจืดตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัว เมียมีขนาดยาวประมาณ 12 ฟุต แต่ตัวผู้มีหางยาวกว่าตัวเมีย และมักมีจำนวนเกล็ดที่ห่างมากกว่า จระเข้น้ำจืดหัวทู่ สั้นกว่าจระเข้น้ำเค็ม มีเกล็ดท้ายทอย 4 เกล็ดเรียงให้เห็นชัด เท้าหลังมีพังผืด เล็กน้อย หางจระเข้มีกำลังมากใช้โบกพัดไปมาช่วยในการว่ายน้ำ หรือเป็นอาวุธ สามารถฟาดหางทำให้คนหรือสัตว์ได้รับอันตรายได้ ปกติไม่ได้ใช้ขาในการว่ายน้ำ ถิ่นอาศัย, อาหาร : พบในเอเชียแถบประเทศกัมพูชา อินโดนีเซีย และประเทศไทย จระเข้น้ำจืดกินสัตว์ที่มีขนาดกลาง เช่น ปลา กบ นก รวมทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็ก ถ้าอาหารมีขนาดใหญ่มันจะคาบอาหารแล้วเหวี่ยงไปมาทำให้อาหารขาด ออกเป็นชิ้น ๆ อาหารจะถูกย่อยอย่างช้า ๆ ทำให้ไม่ต้องกินอาหารประมาณ วัน หลังจากนั้นจึงกินอีกครั้งหนึ่ง พฤติกรรม, การสืบพันธุ์ : ชอบอยู่ตัวเดียว ตามแหล่งน้ำนิ่งซึ่งมีความลึกไม่เกิน 5 ฟุต และมีที่ร่ม ในช่วงอากาศร้อนจะแช่ตัวในน้ำ ถ้าอากาศหนาวจะขึ้นมาผึ่งแดดบนบก ในตอนกลางวัน จระเข้น้ำจืดมักผสมพันธุ์กันในฤดูหนาวซึ่งในระยะนี้ตัวผู้จะต่อสู้กัน เพื่อ แย่งชิงเป็นเจ้าของตัวเมีย การผสมพันธุ์มีปีละครั้ง จระเข้น้ำจืดเริ่มวางไข่โดย ตัวเมียจะขุดดินที่อยู่ใกล้น้ำที่เป็นดินทราย กว้าง เซนติเมตร แล้วออกไข่ ประมาณ ฟอง เมื่อวางไข่เสร็จแล้ว จระเข้จะกวาดใบไม้รอบ ๆ หลุมไข่มา รวมพูนกองบนรังไข่เพื่อป้องกันฝน จากระยะออกไข่จนฟักเป็นตัว ระยะนี้จระเข้จะดุ ร้ายมาก ศัตรูตามธรรมชาติของไข่จระเข้น้ำจืดนอกจากคนแล้วก็มี เหี้ย ตะกวด ชะมด อีเห็น ซึ่งมาลักไข่ของมันไปกิน เมื่อฟักไข่ครบกำหนดแล้วจระเข้ตัวอ่อน ๆ ก็ จะเจาะเปลือกไข่ออกมาเอง สถานภาพปัจจุบัน : เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ ป่า พุทธศักราช 2535 สถานที่ชม : สวนสัตว์ดุสิต, สวนสัตว์เปิดเขาเขียว, สวนสัตว์นครราชสีมา, สวนสัตว์ เชียงใหม่, สวนสัตว์สงขลา