Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กลไกการวิวัฒนาการ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พันธุกรรมของแบคทีเรีย 2
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
Transcription.
โพรโทซัว( Protozoa ).
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
Sarote Boonseng Nucleic acids.
(quantitative genetics)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
Artificial Intelligence (AI)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
Overview of Animal Breeding Stop and think ?... ทำไมต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์ ? ต้องการผลิตลูกสัตว์ที่มี ลักษณะดีเด่นขึ้น.
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ยีน และ โครโมโซม.
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
Introduction to Quantitative Genetics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

137451 Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ผู้สอน ผศ. สจี กัณหาเรียง ดร. วุฒิไกร บุญคุ้ม ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์

Overview of Animal Breeding ... ทำไมต้องมีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ? ต้องการผลิตลูกสัตว์ที่มีลักษณะดีเด่นขึ้น

Animal Breeding : หลักการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 1) การคัดเลือกพันธุ์สัตว์ (Selection) Phenotypic selection Breeding value selection (Genetic) 2) การผสมพันธุ์สัตว์ (Mating) Inbreeding (มีความเป็นเครือญาติกัน) Cross breeding (ไม่เป็นเครือญาติ/ผสมข้าม)

P = G + E เมื่อ P = Phenotype Basic genetic model P = G + E เมื่อ P = Phenotype G = Genotype E = Environment G = A + D + I เมื่อ A = Additive gene D = Dominant gene I = Epitasis gene (ยีนสะสมถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูกได้) (การข่มกันระหว่างยีนคู่เดียวกัน) (การข่มกันระหว่างยีนต่างคู่กัน)

P = G + E E = Ep + Et เมื่อ Ep = Permanent evi. (สภาพแวดล้อมถาวร) Et = Temporary evi. (สภาพแวดล้อมชั่วคราว) G = A + D + I เมื่อ A = Additive gene D = Dominant gene I = Epitasis gene

Related Area in Animal Breeding Classical genetic Population genetic - Mendelian genetic - study of gene actions - gene frequency Animal Breeding Mathematic Molecular biology - probability - genetic engineering - gene transfer - gene marker Statistical genetic Estimation - การประมาณค่าอัตราซ้ำ - การประมาณค่าอัตราพันธุกรรม

พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics) Gene and Chromosome DNA structure Regulation of gene expression Cell division

พันธุศาสตร์เบื้องต้น Gene and Chromosome DNA structure Regulation of gene expression Cell division

เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (cell and cell components)

ยีน และ โครโมโซม (Gene and chromosome) “ยีน” จะอยู่ในเซลล์ทุกเซลล์ของสัตว์

จำนวนโครโมโซม Species Chromosome Human 46 Cattle 60 Pig 38 Goat 54 House 64 Rabbit 44 Chicken 78 Dog Cat

โครงสร้างของดีเอ็นเอ (Structure of DNA) เกลียวคู่ (double-helix model) ทิศทางสวนทางกัน (anti-parallel) H-bond

องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ 1) น้ำตาล 2-deoxyribose ซึ่งเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม โดยที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 จะไม่มีหมู่ไฮดร็อกซี่ (OH-group) 2) ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) ได้แก่ - purine เบส adenine, (A) และ guanine (G) - pyrimidine เบส thymine (T) และ cytosine (C) พบว่าในสิ่งมีชีวิตทั่วไปจะมีอัตราส่วน A ≈ T, C ≈ G และ A+G ≈ T+C 3) หมู่ฟอสเฟต (phosphate group) ซึ่งประกอบด้วยฟอสฟอรัสและออกซิเจน

โครงสร้างของยีน exon1 exon2 exon3 exon4 intron1 intron2 intron3 promoter exon1 exon2 exon3 exon4 intron1 intron2 intron3 terminator

Gene ทำงานอย่างไร 5’ 3’ Subunit enzyme (Protein) exon1 exon2 exon3 tRNA, rRNA exon1 exon2 exon3 exon4 intron1 intron2 intron3 mRNA Protein mRNA Subunit enzyme (Protein)

5’ 3’ m-RNA Protein Transcription (การถอดรหัส) Translation (การแปลรหัส) Protein

แต่ละเซลล์ในร่างกายสัตว์มียีนเท่ากันหรือไม่ ?

การแสดงออกของยีน WHERE / WHEN / HOW MUCH ตับ ผิวหนัง เด็ก ผู้ใหญ่

หน้าที่ของ DNA (the role of DNA) Functions: เก็บรวบรวมข้อมูล Storing information Functions: คัดลอกข้อมูล Copying information Functions: ถ่ายทอดข้อมูล ได้ Transmitting information หน้าที่นี้สำคัญ อย่างไร? : DNA เป็นชิ้นส่วน ของยีนที่ควบคุมการ พัฒนาการลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต : DNA จะมีการ จำลองตัวเอง อย่างแม่นยำใน ทุกๆ ครั้งที่มี การแบ่งเซลล์ : สารพันธุกรรม (DNA) จะ ถ่ายทอดจากรุ่น หนึ่งไปยังรุ่น หนึ่ง

วัฏจักรของเซลล์ ( cell cycle) วัฏจักรของเซลล์ หมายถึง ช่วงระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัว ซึ่งประกอบด้วย 2 ระยะได้แก่ การเตรียมตัวให้พร้อม ที่จะแบ่งตัว และกระบวนการแบ่งเซลล์

การแบ่งเซลล์ (cell division) การแบ่งเซลล์แบบไมโตซิส - แบ่งเซลล์ร่างกายเพื่อเพิ่มจำนวน (2n) การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส - แบ่งเซลล์สืบพันธุ์ (n)

ขั้นตอนต่างๆของการแบ่งเซลล์ 1. ระยะอินเตอร์เฟส ( interphase) เป็นระยะพักตัว จะมองไม่เห็นเส้นโครโมโซม 2. ระยะโฟรเฟส ( prophase) ระยะที่โครโมโซมหดสั้น มองเห็นเป็นเส้นและเริ่มแบ่งตัว 3. ระยะเมทาเฟส ( metaphase) เส้นโครมาติดหดสั้น และเคลื่อนตัวมาเรียงตรงกลางนิวเคลียส

4. ระยะแอนาเฟส ( anaphase) ระยะนี้เส้นใยสปินเดิล หดสั้นเข้า ดึงให้โครมาทิดแยกตัวออกจากกัน แล้วโครมาทิด จะค่อยๆ เคลื่อนไปยังแต่ละขั้ว ของเซลล์ 5. ระยะเทโลเฟส ( telophase) โครมาทิดที่แยกออกจากกัน จะเรียกเป็น โครโมโซมลูก ( daughter chromosome) ซึ่งจะไปรวมกลุ่มในแต่ละขั้วของเซลล์

WEB เข้าโหลด สไลด์บทเรียน การบ้าน ต่างๆ http://ags.kku.ac.th/elearning/137451