ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
Advertisements

บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Personality Development
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
Chris Argyris ( คริส อาร์กีริส )
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ชุดที่ 2)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
การพัฒนาตนเอง.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 16 ครอบครัว.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีทางอาชีพ ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory) ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development) ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2

ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความต้องการทางจิตวิทยา Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทางพัฒนาการของอัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development

ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ข้อมูลพื้นฐาน การเลือกอาชีพของบุคคลมักจะขึ้นอยู่กับตัวแปร 4 ประการ คือ องค์ประกอบด้านความเป็นจริง (Reality Factor) หมายถึงการตอบสนองที่บุคคลมีต่อความกดดันจากสภาพความเป็นจริงของสิ่งแวดล้อม

2. กระบวนการทางการศึกษา (Educational Process)

3. องค์ประกอบด้านอารมณ์ (Emotional Factors) หมายถึง ลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคล ที่ทำให้บุคคลตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร

4. ค่านิยมของแต่ละบุคคล (Personal Values)

กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น จะเกิดควบคู่ไปกับชีวิตการทำงานของบุคคล Ginzberg เชื่อว่า กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น จะเกิดควบคู่ไปกับชีวิตการทำงานของบุคคล และถ้าการเลือกอาชีพในช่วงต้นของชีวิตไม่นำไปสู่ความพึงพอใจในการทำงาน บุคคลอาจเลือกอาชีพใหม่ได้ ในชีวิตการทำงานนั้น บุคคลต้องมีการเปลื่ยนแปลงปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอตามพัฒนาการของชีวิต หากความต้องการเปลี่ยนไป อาจมีผลต่อการปรับตัวของบุคคลให้ตรงกับความต้องการของตนเองมากที่สุด

Ginzberg แบ่งขั้นตอนของการเลือกอาชีพเป็น 3 ระยะ คือ 1. Fantasy Period เริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึง 11 ปี เป็นระยะเพ้อฝันถึงอาชีพต่าง ๆ ที่ตนเองอยากเป็น โดยยังไม่คำนึงถึงความสามารถและความเป็นไปได้

2. Tentative Period ช่วงระหว่างอายุ 11-17 ปี เป็นระยะการพิจารณาอาชีพแต่ยังยึดองค์ประกอบเกี่ยวกับตนเอง เช่น ความสนใจ ความสามารถและค่านิยม องค์ประกอบที่แท้จริงยังไม่นำมาพิจารณา ซึ่งยังสามารถแบ่งย่อย ๆ ออกเป็นแต่ละขั้น ดังนี้

2.1 Interest Stage อายุ 11 ถึง 12 ปีขั้นนี้ยังใช้ความสนใจของตนเองในการเลือกอาชีพที่ต้องการ 2.2 Capacity Stage อายุ 13 ถึง 14 ปีขั้นนี้ นำความสามารถของตนเองมาพิจารณาด้วยแต่เนื่องจากความรู้ความสามารถยังไม่ถึง จึงเลือกอาชีพแบบทดลอง

2.3 Value Stage อายุ 15 ถึง 16 ปี ขั้นนี้จะใช้ค่านิยมของสังคม เช่น รายได้ ชื่อเสียงเกียรติยศจะถูกนำมาพิจารณาในการเลือกอาชีพมากกว่าความสนใจและความ สามารถ ของตน 2.4 Transition Stage อายุ 17 ปี เริ่มมีการพิจารณาถึงความสนใจ ความสามารถ ค่านิยม ซึ่งขั้นนี้มักจะทราบว่าตนเองต้องการ มีอาชีพแบบใด สามารถทำอะไรได้บ้าง

3. Realistic Period อายุ 17 ปี ถึงวัยผู้ใหญ่ อายุประมาณ 25 ปี เป็นระยะที่จะมีการประนี ประนอม (Compromise) ระหว่างองค์ประกอบที่เป็นจริง กับความต้องการและความสามารถเข้า ด้วยกัน แบ่งออกเป็น 3 ระยะ

3.1 Exploration Stage เป็นขั้นสำรวจอาชีพ ต่าง ๆ 3.2 Crystallization Stage พร้อมที่จะ เลือกอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เนื่องจากได้ข้อมูลในอาชีพมากพอควรแล้ว 3.3 Specification Stage ขั้นเลือกอาชีพระยะนี้จะตัดสินใจเมื่อเข้าสู่อาชีพนั้น เช่น เลือกงาน หรือเลือกเรียนวิชาชีพ ที่ต้องการ

ซักถาม-อภิปราย