การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Arrays.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
Principles of Programming
Principles of Programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี) เรื่อง อาเรย์ (Array) จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์ http://kruchada.wikispaces.com/

ดรรชนีของอาเรย์ทุกชนิดในภาษา C จะเริ่มที่ 0 เสมอ อาเรย์ (Array) อาเรย์ คือ กลุ่มของตัวแปรชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ตัวที่ใช้ชื่อเดียวกัน ซึ่งการเข้าถึงสมาชิก (element) แต่ละตัวจะใช้ดรรชนี (index) หรือ subscript) ที่เป็นเลขจำนวนเต็มในการระบุ ดรรชนีของอาเรย์ทุกชนิดในภาษา C จะเริ่มที่ 0 เสมอ

การประกาศตัวแปรอาเรย์ การประกาศตัวแปรอาเรย์จะใช้รูปแบบ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปรอาเรย์[จำนวนสมาชิก] [= { รายการค่าเริ่มต้น } ]; ตัวอย่าง int arr_i[5]; จะเกิดตัวแปรอาเรย์ 5 ตัวคือ arr_i[0], arr_i[1], arr_i[2],arr_i[3], arr_i[4] โดยที่ไม่มีการกำหนดค่าเริ่มต้นใดๆ ตัวอย่าง char arr_c[3] = { ’a’, ’b’, ’c’ }; จะเกิดตัวแปรอาเรย์ 3 ตัวคือ arr_c[0], arr_c[1], arr_c[2] โดยที่ตัวแปรแต่ละตัวมีค่าเริ่มต้นเป็น ’a’ , ’b’ , ’c’ ตามลำดับ

การประกาศตัวแปรอาเรย์

การเข้าถึงข้อมูลในอาเรย์ เราสามารถเข้าถึงสมาชิก(element)ของอาเรย์แต่ละตัวได้โดยตรง โดย ระบุดรรชนี (index) โดยที่ดรรชนี จะเป็นเลขจำนวนเต็ม และเริ่มต้นที่ 0 เสมอ และเราสามารถจัดการกับสมาชิกแต่ละตัวได้อย่างอิสระเหมือนกับ ตัวแปรทั่วๆไป เช่น int arr[5] = { 1, 2, 3, 4, 5 }; int i; i = arr[0]; arr[1] = arr[2]; arr[0]++; printf(”%d”, arr[0]); scanf(”%d”, &arr[1]);

แบบฝึกหัด ให้เขียนโปรแกรมเพื่อเก็บคะแนนนักเรียนจำนวน 10 คน แล้วทำ การรอรับคะแนนนักเรียนทุกคนจากผู้ใช้ และหาค่าเฉลี่ยคะแนนของ นักเรียนทั้งหมด

แบบฝึกหัด #include “stdio.h” int main(){ int i; float score[10],sum=0.0; for (i=0;i<10;i++) { printf(“Enter Score of %d”,i+1); scanf(“%f”,&score[i]); sum = sum+score[i]; } printf(“\n%.2f”,sum/10);

อาเรย์หลายมิติ (Multidimensional arrays) อาเรย์ที่กล่าวมาตั้งแต่ต้นเป็นอาเรย์มิติเดียว (Single dimensional arrays) คือ ใช้ดรรชนี (index) เพียงตัวเดียว แต่ในภาษา C เราสามารถสร้าง อาเรย์หลายมิติได้ เช่น float arr1[5][3]; /* อาเรย์ 2 มิติ มีจำนวนสมาชิก = 5x3 = 15 ตัว */ int arr2[10][3][3]; /* อาเรย์ 3 มิติ มีจำนวนสมาชิก = 10x3x3 = 90 ตัว */ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นอาเรย์กี่มิติ ดรรชนีตัวแรกของแต่ละมิติจะเริ่มที่ 0 เสมอ

ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปรอาเรย์ [ จำนวนแถว ][ จำนวนคอลัมน์ ]; อาเรย์ 2 มิติ อาเรย์ 2 มิติ คือ อาเรย์ที่อยู่ในรูปของตาราง(table) คือ ประกอบด้วยแถว และคอลัมน์ ซึ่งรูปแบบของการประกาศ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปรอาเรย์ [ จำนวนแถว ][ จำนวนคอลัมน์ ]; เช่น int arr[4][3]; int arr1[3][4] = { {2, 5, 12, 3}, {1,4,11,9}, {6,7,10,8} }; int arr1[3][4] = { 2, 5, 12, 3, 1, 4, 11 , 9, 6, 7, 10, 8 } ;

อาเรย์ 2 มิติ

แบบฝึกหัด จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับข้อมูลนักเรียนในห้องเรียน โดยที่ในห้องเรียน จะแบ่งเป็นชั้นและห้อง ดังตัวอย่าง (เก็บข้อมูลแบบอาเรย์) แล้วแสดงผลทางหน้าจอดังตาราง (ไม่ต้องพิมพ์ตาราง)