คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ระบบจำนวนจริง(Real Number)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ความชันและสมการเส้นตรง
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

เรื่อง อสมการ 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ เพื่อความรวดเร็วในการแก้อสมการ เราจะใช้ สมบัติของการไม่เท่ากัน ในการหาคำตอบของอสมการ

1. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c 2. ถ้า a ≤ b แล้ว a + c ≤ b + c 1) สมบัติการบวกของการไม่เท่ากัน เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใด ๆ 1. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c 2. ถ้า a ≤ b แล้ว a + c ≤ b + c 3. ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c 4. ถ้า a ≥ b แล้ว a + c ≥ b + c

หมายเหตุ ถ้าลบด้วย c (คือลบด้วยจำนวนจริงใด ๆ ) ก็ยังคงใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันนี้เช่นเดียวกัน เพราะการลบด้วย c มีความหมาย เช่นเดียวกับการบวกด้วย – c นั่นเอง

x > 16 ตัวอย่างที่ 1 จงแก้อสมการ x – 12 > 4 และเขียนกราฟ แสดงคำตอบด้วย วิธีทำ จาก x – 12 > 4 นำ 12 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ x – 12 + 12 > 4 + 12 x > 16 ดังนั้น

จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า 16 นั่นคือ คำตอบของอสมการ คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า 16 16 8 32 24 40

x ≤ 3 ตัวอย่างที่ 2 7 + x + (-7) ≤ 20 + (-7) 7 + x - 7 ≤ 20 - 7 แสดงคำตอบด้วย วิธีทำ จาก 7 + x ≤ 20 นำ -7 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ 7 + x + (-7) ≤ 20 + (-7) จะได้ 7 + x - 7 ≤ 20 - 7 x ≤ 3 ดังนั้น

คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 13 นั่นคือ คำตอบของอสมการ 7 + x ≤ 20 คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 13 12 11 14 13 15 10

ac < bc ac ≤ bc 2) สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน ให้ a, b และ c แทนจำนวนจริงใด ๆ 1. ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac < bc 2. ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≤ bc

ac > bc ac ≥ bc 3. ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว (เครื่องหมายจะ เปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม) 4. ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac ≥ bc (เครื่องหมายจะ เปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม)

สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน จึงเป็นจริงสำหรับกรณีที่ a > b เนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมายเช่นเดียวกับ b ≥ a ดังนั้น สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน จึงเป็นจริงสำหรับกรณีที่ a > b และ a ≥ b ด้วย

ac > bc ac ≥ bc จะได้ว่า 1) ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac > bc 2) ถ้า a ≥ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≥ bc

ac < bc ac ≤ bc 3) ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว (เครื่องหมายจะเปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม)

ข้อสังเกต จะเห็นว่า สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน มี 2 กรณี กรณีที่ 1 ถ้า c เป็นจำนวนจริงบวก เครื่องหมายที่แสดงการไม่เท่ากันจะไม่เปลี่ยนแปลง จะเหมือนเดิม

กรณีที่ 2 ถ้า c เป็นจำนวนจริงลบ เครื่องหมายที่แสดงการไม่เท่ากันจะเปลี่ยนไปเป็นตรงกันข้าม (คำตอบของอสมการที่ได้จึงจะเป็นจริง)