ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
Power Series (2) Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การนับเบื้องต้น Basic counting
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
เศษส่วน.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
การแยกตัวประกอบพหุนาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ตัวประกอบของจำนวนนับ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การคูณและการหารเอกนาม
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม Welcome, Students! ยินดีต้อนรับสู่สื่อเสริมสาระการเรียนรู้คณิตศาตร์ ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม

เนื้อหาที่จะเรียนในวันนี้ การคูณพหุนามด้วยเอกนาม การหารพหุนามด้วยเอกนาม

การคูณพหุนามด้วยเอกนาม

การคูณพหุนามด้วยเอกนาม การคูณระหว่างเอกนามกับพหุนามทำได้โดยนำ เอกนามไปคูณแต่ละพจน์ของพหุนามแล้วนำผล คูณเหล่านั้นมาบวกกัน ตัวอย่างที่1 จงหาผลคูณของ -2x กับ 5x2 + 6x + 4 วิธีทำ (-2x) X (5x2 + 6x + 4) = -10x3 - 12x2 – 8x

ตัวอย่างการคูณพหุนามด้วยเอกนาม ตัวอย่างที่2 จงหาผลคูณของ x2 - 2x + 1 กับ -xy วิธีทำ (x2 - 2x + 1) X (-xy) = -x3y + 2x2y – xy ตัวอย่างที่3 จงหาผลคูณของ x2 + 2xy + y2 กับ -4 วิธีทำ (x2 + 2xy + y2) X (-4) = - 4x2y - 8xy - 4y2

การคูณพหุนามด้วยเอกนาม จากตัวอย่างข้างต้น นักเรียนสามารถหาผลคูณ ระหว่างเอกนามกับพหุนาม โดย “การคูณเอกนามกับแต่ละพจน์ของพหุนาม และใช้สมบัติของการแจกแจง”

โจทย์ฝึกทักษะการคูณพหุนามด้วยเอกนาม 1. จงหาผลคูณของ x2 - 2x - 1 กับ 3x 2. จงหาผลคูณของ 2x2 - 4y2 กับ -xy 3. จงหาผลคูณของ (4x2 ) (-2x3 + x + 3) 4. จงหาผลคูณของ (xyz ) (-xy + yz - xz)

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามด้วยพหุนาม 1. จงหาผลคูณของ x2 - 2x - 1 กับ 3x วิธีทำ นำ 3x กระจายเข้าไปคูณกับทั้ง 3 พจน์ เฉลย (x2 - 2x - 1) X (3x) = 3x3 - 6x2 – 3x 2. จงหาผลคูณของ 2x2 - 4y2 กับ -xy วิธีทำ นำ -xy กระจายเข้าไปคูณกับทั้ง 2 พจน์ เฉลย (2x2 - 4y2) X (-xy) = -2x3y + 4xy3

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามด้วยพหุนาม 3. จงหาผลคูณของ (4x2 ) (-2x3 + x + 3) วิธีทำ นำ 4x2 กระจายเข้าไปคูณกับทั้ง 3 พจน์ เฉลย (4x2 ) (-2x3 + x + 3) = -8x5 + 4x3 + 12x2 4. จงหาผลคูณของ (xyz ) (-xy + yz - xz) วิธีทำ นำ xyz กระจายเข้าไปคูณกับทั้ง 3 พจน์ เฉลย (xyz ) (-xy + yz - xz) = -x2y2z + xy2z2 - x2yz2

การหารพหุนามด้วยเอกนาม

การหารพหุนามด้วยเอกนาม การหารพหุนามด้วยเอกนามที่ไม่เป็นศูนย์ทำได้ โดยหารแต่ละพจน์ของพหุนามด้วยเอกนามแล้ว นำผลหารเหล่านั้นมาบวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้อาจเป็นพหุนามหรือไม่ก็ได้ ถ้าหาร แล้วผลหารเป็นพหุนาม เรียกว่า หารลงตัว ถ้า ผลหารไม่เป็นพหุนาม เรียกว่า หารไม่ลงตัว

การหารพหุนามด้วยเอกนาม ความสัมพันธ์ของตัวหาร ผลหาร และตัวตั้ง กรณีที่หารลงตัว คือ ตัวตั้ง = ตัวหาร x ผลหาร กรณีที่หารไม่ลงตัวเหลือเศษ ความสัมพันธ์ จะกลายเป็น ตัวตั้ง = ตัวหาร x ผลหาร + เศษ

ตัวอย่างการหารพหุนามด้วยเอกนาม ตัวอย่างที่1 จงหาผลหารของ 28x - 20x2 - 4x3หารด้วย 4x วิธีทำ 28x - 20x2 - 4x3 28x - 20x2 - 4x3 4x 4x 4x 4x = 7 - 5x - x2 + =

ตัวอย่างการหารพหุนามด้วยเอกนาม ตัวอย่างที่2 จงหาผลหารของ 4x2 - 2x + 8 หารด้วย -2x วิธีทำ 4x2 - 2x + 8 4x2 -2x 8 -2x -2x -2x -2x = -2x + 1 - + = x 4

การหารพหุนามด้วยเอกนาม จะเห็นได้ว่าการหารพหุนามในตัวอย่างที่ 2 หารไม่ ลงตัวได้ผลลัพธ์เป็น -2x + 1 - ซึ่งไม่เป็นพหุนาม เพราะพจน์ - ไม่เป็นเอกนาม หรือกล่าวได้ว่าพหุนาม 4x2 - 2x + 8 หารด้วย -2x ได้ ผลลัพธ์ - 2x + 1 เศษ 8 x 4 x 4

การหารพหุนามด้วยเอกนาม และถ้าต้องการดูว่าหารถูกต้องหรือไม่ ตรวจสอบได้ โดยความสัมพันธ์ ตัวตั้ง = ตัวหาร x ผลหาร + เศษ ดังนั้น 4x2 - 2x + 8 = (-2x)(- 2x + 1) + 8 = 4x2 - 2x + 8

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามและพหุนาม จงหาผลหารของ (3x2 - 24x) ÷ (3x) จงหาผลหารของ (10x3 - 6x2) ÷ (2x2) จงหาผลหารของ 11x3 + 77x2 - 44x หารด้วย 11x จงหาผลหารของ - x2y4+ x3y2 + x4y3 หารด้วย x2y2

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามและพหุนาม 1. จงหาผลหารของ (3x2 - 24x) ÷ (3x) วิธีทำ 3x2 - 24x 3x2 - 24x 3x 3x 3x = x - 8 + =

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามและพหุนาม 2. จงหาผลหารของ (10x3 - 6x2) ÷ (2x2) วิธีทำ 10x3 - 6x2 10x3 - 6x2 2x2 2x2 2x2 = 5x - 3 + =

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามและพหุนาม 3. จงหาผลหารของ 11x3 + 77x2 - 44x หารด้วย 11x วิธีทำ 11x3 + 77x2 - 44x 11x3 77x2 - 44x 11x 11x 11x 11x = x2 + 7x - 4 + =

โจทย์ฝึกทักษะการคูณเอกนามและพหุนาม 4. จงหาผลหารของ - x2y4+ x3y2 + x4y3 หารด้วย x2y2 วิธีทำ - x2y4+ x3y2 + x4y3 - x2y4 x3y2 x4y3 x2y2 x2y2 x2y2 x2y2 = - y2 + x + x2y + =

Let’s Have a nice day!