ตลาด ( MARKET ).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
รหัส หลักการตลาด.
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการหาทางเลือกที่ดีที่สุด(optimization)
Product and Price ครั้งที่ 8.
Lesson 11 Price.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ตลาดและการแข่งขัน.
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การวางแผนกำลังการผลิต
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การค้าส่ง.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาด ( MARKET )

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( PERFECT COMPETTITION ) ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ( IMPERFECT COMPETTITION ) ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY ) ตลาดผู้ขายน้อยราย ( OLYGOPOLY ) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ( MONOPOLISTIC COMPETTITION )

หลักการแบ่งประเภทตลาด จำนวนผู้ผลิต หรือ ผู้ขาย ความยากง่ายในการหาสินค้าอื่นมาทดแทน ความยากง่ายในการเข้าหรือออกจากการผลิต

การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ นำเรื่องต้นทุนและรายรับมาใช้ ตลาดทั่วไปมีการพบปะกัน ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องมีสถานที่ เช่นตลาดแรงงาน ตลาดหลักทรัพย์ อยู่คนละมุมโลกก็ซื้อขายได้

ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีจำนวนผู้ซื้อ ผู้ขายมากราย ไม่ว่าจะซื้อจากใครจะได้สินค้าคุณภาพเหมือนกันไม่แตกต่างกัน มีความรอบรู้ด้านข่าวสารด้านราคาและปริมาณที่ตกลงซื้อขาย มีเสรีภาพในการเข้าและออกจากตลาดทุกแห่ง หน่วยผลิตต้องการกำไรสูงสุด

โครงสร้างอุปสงค์ เส้นอุปสงค์เป็นเส้นขนานกับแกนนอน เส้นอุปสงค์ตลาดลาดจากซ้ายไปขวา คือมีความชันเป็นลบ รายรับเพิ่ม ( Marginal revenue ) เท่ากับ ราคาตลาด ( Market price) คือ สินค้าแต่ละหน่วยที่ขายเพิ่มขึ้นทำให้รายรับรวมของหน่วยผลิตเพิ่มขึ้นเท่ากับราคาตลาด หน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์มีสภาพเป็นผู้ยอมรับราคาตลาด ( Price taker )

รายรับ รายรับรวม ( Total Revenue ) TR = P * Q รายรับเฉลี่ย ( Average Revenue ) AR = TR / Q = P * Q / Q = P รายรับเพิ่ม ( Marginal Revenue ) = TR Q

การตัดสินใจเกี่ยวกับการผลิตในระยะสั้น ในระยะสั้นต้นทุนคงที่ไม่สามารถแปรผันได้ กล่าวคือการจะขยายโรงงานหรือการที่จะเข้ามาสู่ตลาดของผู้ผลิตหน้าใหม่จะต้องใช้เวลา ผลิตตรงจุดที่รายรับเพิ่มเท่ากับต้นทุนเพิ่ม ผลิตที่ P = ATC ผลิตที่ P มากกว่า AC ผลิตที่ P น้อยกว่า AC แต่มากกว่า AVC ผลิตที่ P เท่ากับหรือต่ำกว่า AVC

เส้นอุปทานระยะสั้นของหน่วยผลิต นับจากจุดต่ำสุด ของ AVC เลื่อนขึ้นไปตาม เส้นต้นทุนเพิ่ม MC