ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ซอฟต์แวร์.
RAM (Random Access Memory)
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
DS30M DUAL FEED GUN.
นวัตกรรม ชย.ทร..
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
กระทะไฟฟ้า                .
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
การทำงานของคอมพิวเตอร์
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
1. Sequential Circuit and Application
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า

ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า หน้าที่สำคัญของส่วนประกอบวงจรไฟฟ้าในงานวิทยาศาสตร์           1. ใช้เป็นตัวรับรู้            2. ใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจ             3. ใช้ในการควบคุม

ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistors) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า นิยมนำมาประกอบในวงจรทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ตัวต้านทานที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้า ทำหน้าที่ลดแรงดัน และจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร ตัวต้านทานมีรูปแบบและขนาดแตกต่างกันตามลักษณะของการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด แบบค่าคงที่ แบบปรับค่าได้และแบบเปลี่ยนค่าได้ ตัวอย่างเช่น วงจรเครื่องรับวิทยุ, โทรทัศน์,เครื่องขยายเสียง

ตัวต้านทานไฟฟ้า Resistors

ตัวเก็บประจุไฟฟ้า (Capacitors) หน่วยของตัวเก็บประจุคือ ฟารัด (Farad) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บประจุ (Charge) และสามารถคายประจุ (Discharge) ได้ นิยมนำมาประกอบในวงจรทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ตัวอย่างเช่น วงจรกรองกระแส (Filter), วงจรผ่านสัญญาณ (By-pass), วงจรสตาร์ทเตอร์ (Starter), วงจรถ่ายทอดสัญญาณ (Coupling) ฯลฯ ตัวเก็บประจุแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ แบบค่าคงที่ แบบเปลี่ยนแปลงค่าได้และแบบเลือกค่าได้

ตัวเก็บประจุไฟฟ้า Capacitors

ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้า (Inductor) ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้า หรือ อินดักเตอร์ (L) หน่วยของการเหนี่ยวนำคือ เฮนรี่ (Henry) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเหนี่ยวนำไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการสนามแม่เหล็กตัดผ่านขดลวด จะทำให้เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าในขดลวด ซึ่งจะทำให้เกิดการเหนี่ยวนำขึ้น ตัวเหนี่ยวนำแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ แบบค่าคงที่ และ แบบปรับค่าได้

ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้า Inductor การประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ

ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้า Inductor

Thank you for your kind attention