บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร ที่เป็นอิสระต่อกัน
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การทดสอบสมมติฐาน
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
แบบฝึกหัด ในการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา ปวส. ที่มีความวิตกกังวลในการเรียน จำนวน25 คนเป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน ผลการสำรวจปรากฏดังนี้ อยากทราบว่านักเรียนชายละนักเรียนหญิงที่มีความวิตกกังวลในการเรียนต่างกันหรือไม่
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร

การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1

ตัวอย่างที่ 1 ผู้จัดการโรงงานแห่งหนึ่งเชื่อว่า หลอดไฟที่ผลิตจากโรงงานมีอายุการ ใช้งานเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4,200 ชั่วโมง เพื่อทดสอบความเชื่อดังกล่าว ฝ่ายวิจัย ได้สุ่มตัวอย่างหลอดไฟมาจำนวน 10 หลอด พบว่ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 4,000 ชั่วโมง และมีส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 200 ชั่วโมง สมมุติอายุการใช้ งานของหลอดไฟมีการแจกแจงปกติ จง ทดสอบว่าความเชื่อของผู้จัดการ โรงงานเป็นจริงหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05

การทดสอบค่าเฉลี่ย 2 ประชากร ที่เป็นอิสระกัน  ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร และ กรณี ความแปรปรวนรวม (Pooled Variance : ) เป็น ค่าประมาณของ โดย สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ โดยมีระดับองศาเสรี = n 1 + n 2 - 2

การทดสอบค่าเฉลี่ย 2 ประชากร กรณี สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ โดยมีระดับขั้นความเป็นเสรี

ตัวอย่างที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบค่าแรงงานของคนงาน หญิงในนิคมอุตสาหกรรม 2 แห่ง จากการสุ่ม ตัวอย่างคนงานหญิงจำนวน 16 คน จากนิคม อุตสาหกรรมแห่งแรกพบว่าค่าแรงงานเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 117 บาท และ 10 บาท ตามลำดับ สุ่มตัวอย่างคนงาน หญิงจำนวน 14 คน จากนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ที่สองพบว่าค่าแรงงานเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 112 บาท และ 8 บาท ตามลำดับ ถ้าค่าแรงงานของคนงานหญิงใน นิคมอุตสาหกรรมทั้งสองมีการแจกแจงปกติ และมีความแปรปรวนเท่ากัน จงทดสอบว่า ค่าแรงงานเฉลี่ยของคนงานหญิงในนิคมอุตสา กรรมทั้งสองแห่งแตกต่างกันหรือไม่ ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05

ตัวอย่างที่ 3 วิศวกรควบคุมงานเชื่อว่าลวดสลิงยี่ห้อ A มีแรงดึงต่ำกว่าลวดสลิงยี่ห้อ B เขาได้ สุ่มตัวอย่างลวดสลิงยี่ห้อ A และ B มา จำนวน 10 และ 20 เส้น ตามลำดับ ทำ การทดสอบแรงดึงพบว่า ลวดสลิงยี่ห้อ A มีแรงดึงเฉลี่ย นิวตัน และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 35.7 นิวตัน ลวดสลิง ยี่ห้อ B มีแรงดึงเฉลี่ย นิวตัน และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นิวตัน ถ้า แรงดึงของลวดมีการแจกแจงปกติ และ ความแปรปรวนของประชากรไม่เท่ากัน จงทดสอบว่าลวดสลิงยี่ห้อ A มีแรงดึงต่ำ กว่ายี่ห้อ B ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05

การทดสอบค่าเฉลี่ย 2 ประชากร ที่ ไม่เป็นอิสระกัน สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1 โดย และ

ตัวอย่างที่ 4 ข้อมูลคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 9 คน ก่อนและหลังการเรียนพิเศษ จงทดสอบ ว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนพิเศษ แตกต่างกันหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 นักเรียนคนที่ คะแนนก่อนเรียนพิเศษ คะแนนหลังเรียนพิเศษ