ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า ราคาดุลยภาพ ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกลไกราคา การกำหนดราคาและปริมาณ ดุลยภาพ
ผลิตอย่างไร ผลิตอะไร ผลิตเพื่อใคร กลไกตลาด
กลไกราคา สามารถแก้ไข ปัญหาพื้นฐานของ ระบบเศรษฐกิจ ถูกกำหนดโดย อุปสงค์ ( Demand ) อุปทาน ( Supply )
อุปสงค์ ( Demand) จำนวนของสินค้าหรือบริการ ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ - ความต้องการซื้อ - ความสามารถที่จะจ่ายซื้อ
ปริมาณการซื้อ ( กก. ) ราคาลำใย ( บาท/กก. ) 50 40 1 30 2 20 3 10 4
เส้นอุปสงค์ต่อราคา (D) ราคาลำใย ( บาท/กก.) 10 20 30 40 50 เส้นอุปสงค์ต่อราคา (D) ปริมาณ(กก.) 1 2 3 4 5
กฎของอุปสงค์ อุปสงค์ที่มีต่อสินค้าใด จะมี ความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้าม กับราคาของสินค้านั้น
อุปทาน (Supply) ปริมาณความต้องการเสนอขาย สินค้าและบริการที่ผู้ผลิต ผลิต ออกมาขาย
ราคาลำใย ( บาท/กก. ) ปริมาณต้องการขาย ( กก. ) 4 50 40 3 30 2 1 20 10
ราคาส้ม ( บาท/กก.) เส้นอุปทาน (s) 10 20 30 40 50 ปริมาณ(กก.) 1 2 3 4 5
กฎของอุปทาน อุปทานของสินค้าใด จะมีความ สัมพันธ์ในทางเดียวกัน กับราคา ของสินค้านั้น
ราคาดุลยภาพ ระดับราคาที่ปริมาณความต้องการ เสนอซื้อเท่ากันพอดีกับปริมาณ ความต้องการเสนอขาย ปริมาณอุปสงค์ = ปริมาณอุปทาน
เส้น อุปทาน (s) ราคาลำใย ( บาท/กก.) เส้นอุปสงค์ ต่อราคา (D) 1 2 3 4 5 10 20 30 40 50 เส้นอุปสงค์ ต่อราคา (D) ปริมาณ(กก.) ราคาลำใย ( บาท/กก.) 1 2 3 4 5 10 20 30 40 50 เส้น อุปทาน (s)
สรุป ปริมาณการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงไปในทางตรงกันข้ามกับราคา กฎของอุปสงค์หรือความต้องการซื้อ ปริมาณการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงไปในทางตรงกันข้ามกับราคา
สรุป - ราคาสูงขึ้นผู้ขายจะนำสินค้า ออกขายปริมาณมาก กฎของอุปทานหรือการเสนอขาย - ราคาสูงขึ้นผู้ขายจะนำสินค้า ออกขายปริมาณมาก - ราคาลดลงผู้ขายจะนำสินค้า ออกขายปริมาณน้อยลง
ราคาลำใย ( บาท/กก. ) ซื้อ ( กก. ) ขาย ขาดหรือเกิน { ภาวะสินค้าขาดตลาด 10 4 - 4 ราคา ดุลยภาพ 20 3 1 - 2 30 2 2 { ภาวะสินค้า ล้นตลาด 40 1 3 + 2 ปริมาณ ดุลยภาพ 50 4 + 4
. ราคาลำใย ( บาท/กก.) เส้นอุปทาน (s) ราคาดุลยภาพ ปริมาณ(กก.) ปริมาณการขาย เกินไป หรือมากไป 2 กก. เส้นอุปทาน (s) 10 20 30 40 50 . ราคาดุลยภาพ เส้นอุปสงค์ต่อราคา (D) ปริมาณการขาย ขาดไป 2 กก. ปริมาณ(กก.) 1 2 3 4 5
กลไกกำหนดราคา ช่วยแก้ปัญหาเรื่องสินค้า ล้นตลาดหรือขาดตลาด เศรษฐกิจระบบทุนนิยม(เสรีนิยม) ใช้กำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของประเทศ