ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่า ถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Protein.
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25 เสนอโดย ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สระแก้ว น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25.
อาหารที่มีประโยชน์กับสุขภาพ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2 นาฬิกาชีวิต ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2

นาฬิกาชีวิต นาฬิกาชีวิต คืออวัยวะภายในนั้นมีอยู่ ๑๒ ประการ อวัยวะเหล่านี้จะมีเวลาทำงาน ผลัดบทบาทซึ่งเป็นตัวการสำคัญของร่างกายของเรา ที่จะทำหน้าที่ให้ร่างกายมีสุขภาพดีอวัยวะภายในนั้นมีอยู่ ๑๒ ประการ อวัยวะเหล่านี้จะมีเวลาทำงานที่เรียกว่านาฬิกาชีวิตตลอดทั้งวัน อวัยวะ ๑๒ ประการจะทำงานผลัดหมุนเวียนกันไป มีบทบาทสำคัญทุก ๒ ชั่วโมง ดังนั้น เราควรที่จะเอาใจใส่ดูแลอวัยวะภายในให้ดีเพื่อเราจะได้ปฏิบัติตัวถูกต้องและสามารถเลือกรับประทานตรงตามความต้องการของร่างกาย อวัยวะภายใน ๑๒ ประการ จะทำงานผลัดหมุนเวียนกัน สำคัญหมุนเวียนกันไป ทุก ๒ ชั่วโมง ตลอดทั้งวัน

การทำงานของนาฬิกาชีวิต 01.00-03.00 น. เป็นช่วงเวลาของตับ ทำหน้าที่ขับสารพิษออกจากร่างกายถ้าช่วงนี้เรายังไม่นอน ร่างกายจะสูญเสียพลังงาน ตับจะอ่อนแอลงเนื่องจากต้องทำงานมากขึ้น 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอดตื่นนอนในช่วงนี้เป็นประจำปอดจะทำงานดี และส่งผลให้ผิวพรรณดี 05.00-07.00 น. เป็นช่วงเวลาของสำไส้ใหญ่ เราจึงควรออกกำลังกายเป็นประจำเพื่อช่วยให้สำไส้ใหญ่ขยับตัว ทำให้ระบบการขับถ่ายดีขึ้น 07.00-09.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร อาหารเช้าเป็นมื้อสำคัญที่สุดของร่างกาย เพราะกระเพาะทำหน้าที่ย่อยอาหารได้ดีที่สุด 09.00-11.00 น. เป็นช่วงเวลาของม้าม ทำหน้าที่เก็บพลังงานสำรอง ควบคุมเม็ดเลือดและไขมัน สร้างน้ำเหลือง และกรองเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายทุกชนิด 11.00-13.00 น. เป็นช่วงเวลาของหัวใจ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ควรหลีกเลี่ยงเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด คิดหนัก และไม่ควรให้มีอาการตื่นเต้นและตกใจ

ไม่ควรอั้นฉี่เป็นเวลานานๆ 13.00-15.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้เล็ก ทำหน้าที่ดูดซึมอาหารที่เป็นน้ำ เช่น วิตามินบี ซี และโปรตีนเพื่อนำไปสร้างกรดอมิโนเพื่อใช้ในการสร้างเซลล์สมอง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ 15.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ ทำหน้าที่ขับกรดและของเสียออกจากร่างกาย ซึ่งเป็นของเสียที่ผ่านการแปรรูปมาจากลำไส้เล็ก ไม่ควรอั้นฉี่เป็นเวลานานๆ 17.00-19.00 น. เป็นช่วงเวลาของไต ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกระดูก ไขข้อ ฮอร์โมน อวัยวะสืบพันธ์ เส้นผม เลือด หูและตา 19.00-21.00 น. เป็นช่วงเวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ ช่วงนี้ควรพักผ่อน โดยเฉพาะการนั่งสมาธิ สวดมนต์ เพื่อให้หัวใจทำงานน้อยลง 21.00-23.00 น. เป็นช่วงเวลาพลังงานรวม จึงห้ามอาบน้ำเย็นในช่วงนี้ เพราะจะทำให้เจ็บป่วยได้ง่าย ห้ามออกไปรับอากาศนอกบ้าน 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี มีหน้าที่ย่อยไขมัน เพื่อเปลี่ยนรูปเป็นฮอร์โมน กล้ามเนื้อ กระดูก ไขข้อ เส้นเอ็น ไขสมอง ตา และน้ำหล่อเลี้ยงในร่างกายทั้งหมด เป็นถุงเก็บน้ำย่อยสำรองที่ออกจากตับ

ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อเรารู้ว่าอวัยวะของเราจะทำงานเวลาไหนก็จะทำให้เราปฏิบัติตนได้ถูกต้องและถูกวิธีจะทำให้สุขภาพของเราแข็งแรงขึ้นและทำงานได้ดีขึ้นด้วย

คำคม ออกกำลังกายวันละนิด เพื่อชีวิตวันข้างหน้า

ที่ปรึกษา คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ คุณครู ศราวุธ ไชยเจริญ