บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สถานการณ์การเงินการคลัง
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งบลงทุน Capital Budgeting
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ  

การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพนำความรู้จากบทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติมาใช้   รายได้ประชาชาติดุลยภาพ คือ รายได้ประชาชาติ ณ ระดับเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมพอดี หรือY = DAE

1. วิเคราะห์แนวรายได้ประชาชาติ เท่ากับ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล DAE = C + I ระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาล DAE = C +I + G ระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจเปิด DAE = C + I + G + X – M

2. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด 2. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด ระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ S = I ระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ S + T = I + G ระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ S + T + M = I + G + X ทั้ง สองแนวการวิเคราะห์ ให้ปัจจัย เช่นราคาสินค้า อัตราค่าจ้าง อัตราดอกเบี้ย คงที่

3.การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติกรณีระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล แนว Y = DAE การวิเคราะห์ได้จากตาราง และ รูปกราฟ DAE = C + I หรือ DAE = Y C = 100 + 0.8 Y ( Y = Yd ) I = 250 DAE = 350 + 0.8 Y ตาราง และ กราฟ

4. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับส่วนอัดฉีด กรณีระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ S = I ภาคครัวเรือน แบ่งรายได้ เป็นสองส่วน คือ การบริโภค และ การออม การออม ถือว่ารั่วไหล แต่สถาบันการเงินนำไปให้ภาคธุรกิจกู้เพื่อนำมาลงทุนใหม่ การออมที่เกิดขึ้นจริง = การออมที่ตั้งใจ การลงทุนที่เกิดขึ้นจริง = การลงทุนที่ตั้งใจ + การลงทุนที่ไม่ตั้งใจ

5. ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ การลงทุนที่ตั้งใจ = การออมที่ตั้งใจ หน่วยผลิตวางแผนล่วงหน้าในการลงทุน คือ ตั้งใจแต่ DAE อาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่า Y ส่งผลต่อส่วนเปลี่ยนสินค้าคงเหลือ การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นลบ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีลดลง การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นบวก คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีเพิ่มขึ้น การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นศูนย์ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีไม่เปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ได้ทั้ง ตารางและ กราฟ

6. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ หรือเส้น DAE 6. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ หรือเส้น DAE การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่ง ( C, I, G, X, M ) การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบ DAE มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ ดุลยภาพ ถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางลดลง ระดับรายได้ประชาชาติจะลดลง ถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางเพิ่มขึ้น ระดับรายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น

7. ตัวทวี ( Multiplier ) ความหมาย เป็นมาตรการวัดขนาดของการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ขึ้นอยู่กับ MPC สมมติ โรงงานลงทุนเพิ่ม 15 ล้านบาท เป็นค่าขยายโรงงานซื้อเครื่องจักรใหม่ ให้ค่า MPC = 0.75 เงินลงทุนที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายรอบแรก จะตกเป็นของผู้รับเหมา คนขายเครื่องจักร ผู้มีรายได้นี้จะแบ่งรายได้ เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งเก็บออม อีกส่วนใช้จ่ายเป็นรอบสอง 11.25 ล้านบาท ( 15 *0.75 ) จะใช้จ่ายในรอบ ต่อ ๆไป

รอบ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ การเปลี่ยนแปลงของการบริโภค การเปลี่ยนแปลงของการออม การใช้จ่าย Y MPC = 0.75 MPS = 0.25 1 15.00 11.25 3.75 2 11.25 8.44 2.81 3 8.44 6.33 2.11 4 6.33 4.75 1.58 5-สุดท้าย 18.98 14.23 4.75 รวม 60.00 45.00 15.00

สูตร การเปลี่ยนแปลงของ Y = 15 { 1 + 0. 75 + 0. 752 + ……. 75 n} สูตร การเปลี่ยนแปลงของ Y = 15 { 1 + 0.75 + 0.752 + ……..0.75 n} = 15 { 1 / 1 – 0.75 } = 15 { 1 / 0.25 } = 60 ค่า 0.75 คือค่า MPC และค่า 0.25 คือค่า MPS ส่วนเปลี่ยนแปลงY = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / 1 – MPC } = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / MPS } ค่า I เป็นส่วนประกอบของ DAE ถ้า I เปลี่ยน DAE เปลี่ยนด้วย ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = k คูณด้วย ส่วนเปลี่ยนของ DAE { K คือ ค่าตัวทวี }

ตัวทวีอย่างง่าย สมมติระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคกรณีการลงทุนแบบอิสระให้ I เป็นการลงทุนอิสระ I = Io DAE = C + I C = Co + bYd DAE = Co + Io + bY Y = DAE Y = Co + Io +bY Y – bY = Co +Io {1 – b }Y = Co + Io Y = 1 / 1 – b { Co + Io } ค่า Co หรือ Io เพิ่มหรือลด ค่า Y ก็จะเพิ่มหรือลดด้วย โดยผ่านตัวทวี

ส่วนเปลี่ยนแปลง Y / ส่วนเปลี่ยนแปลง Co เท่ากับ 1 / 1-b หรือ ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = 1 / 1-b {ส่วนเปลี่ยนแปลง Co} ตัวทวีคูณ หรือ K = 1 / 1 – b ค่าของตัวทวี ขึ้นอยู่กับMPC ถ้า MPC สูง ค่าตัวทวี จะสูงด้วย ให้ A = Co + Io Z = b ค่าของตัวทวี = 1 / 1 - b หรือ 1 / 1 - MPC