การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

Chapter5:Sound (เสียง)
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
ระบบการสื่อสารข้อมูล
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
FireNEX b Optical Repeaters
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
หัวต่อสัญญาณแบบต่าง ๆ
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects… Show, Clone Stamp, Chroma-Key, Shape Tween Show project examples

Shock Mounts

Wind Screens

Omnidirectional Pickup Pattern

Omnidirectional Pickup Pattern

Cardioid Pickup Pattern

Cardioid Pickup Pattern

Hypercardioid Pickup Pattern

องค์ประกอบของระบบขยายเสียง * INPUT SIGNAL * AMPLIFIER * OUTPUT SIGNAL

ส่วนประกอบของเครื่องขยายเสียง Pre Amplifier Tone Control Power Amplifier IN PUT OUT PUT Power Supply

Loud speaker

ประเภทของลำโพงตามการตอบสนองความถี่ Sub woofer Woofer Midrange/Bass Midrange or Squawker Tweeter Full Range Multiway Speaker

Connectors XLR for balanced connections RCA for consumer unbalanced Mini-plug for computer soundcards ¼” TRS (tip-ring-sleeve) for some balanced audio applications

ห้องบันทึกเสียง Studio Recorder

directed sound early reflections (50-80 msec) reverberation amplitude time

1.เสียงพูด เป็นเสียงที่มีความดังไม่มากนัก 50 มิลลิวัตต์ มีความถี่ระหว่าง 100Hz-8000Hz เสียงเพศหญิงจะมีความถี่สูงกว่าเพศชายและในบางเสียงเช่น การออกเสียงตัวอักษรส ซ ช ฉ หรือ s ch sh จะทำให้เกิดความถี่สูงขึ้นมาเรียนกว่า ซิบิแลนซ์(sibilance)มีผลต่อการบันทึกเสียงทำให้เสียงแตกพร่าได้ง่าย

2.เสียงดนตรี เป็นเสียงมีความถี่สูงกว่าเสียงพูด คืออยู่ระหว่าง 30Hz-20,000Hz เป็นความถี่ที่หูมนุษย์สามารถรับรู้ได้ เสียงดนตรีแต่ละประเภทจะให้ความถี่แตกต่างกัน จากโครงสร้างของเครื่องดนตรีและลักษณะของเสียงที่ดังออกมา เสียงที่แตกต่างกันนี้ทำให้เรารู้ว่าเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด แม้จะเล่นโน้ตตัวเดียวกันและมีการเล่นที่แตกต่างกันออกไป

3.เสียงรบกวน(Noise) มีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ จากอุปกรณ์ทางไฟฟ้าเอง เนื้อเทป หรือแม้แต่เสียงรบกวนในขณะบันทึก ดังนั้นผู้บันทึกจึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจในเรื่องของเสียงรบกวนแต่ละประเภทจึงจะแก้ได้อย่างถูกต้อง

3.1 เสียงฮัม(hum) เป็นเสียงรบกวนในความถี่ต่ำ 60Hz-120Hz เกิดขึ้นจาก การรบกวนของมอเตอร์ในเครื่องเล่นต่างๆ สายสัญญาณหรือการรบกวนของหม้อแปลงไฟฟ้า

3. 2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss) 3.2 เสียงเทปฮีส(Tape hiss) เป็นเสียงซ่า เหมือนขณะที่หมุนหาคลื่นวิทยุ ลักษณะจะเหมือนเสียงพิงค์นอยส์ (pink noise)มักจะพบในเนื้อ เทป หรือในอุปกรณ์ต่างๆ เครื่องเสียงที่ดี มักจะมีค่าS/N Ratio สูง

4.เฮดรูม(head room) ความสามารถในการรับสัญญาณหรือบันทึกได้สูงสุดของเครื่องมือต่างๆ ก่อนจะเกิดเสียงที่แตกพร่า (Distrotion) สามารถปรับเลือกได้ ว่าจะให้มีค่าในการรับที่เท่าไหร่ เช่น 110dB หากมีเสียงเข้ามาที่ 120dB เสียงจะแตก ดังนั้นจะต้องปรับไปที่ 120 dB

4.เฮดรูม(head room)

Volume Unit Meters Analog VU Meter Measures the volume units, the relative loudness of amplified sound. LED VU Meter

5.เฟสของเสียง (Phase) รูปแบบการเคลื่อนที่ของสัญญาณเสียง 2 สัญญาณ สเตอริโอที่ออกมาพร้อมกัน หากตรงกันและพร้อมกันจะเกิดสัญญาณที่แรงขึ้น หากกลับเฟสกัน ในเวลาเดียวกัน เสียงจะหายไป และกลับเฟสกันในเวลาต่างกันจะทำให้เสียงหายไปในบางช่วง

5.เฟสของเสียง (Phase)

6. เสียงแตกพร่า(Distortion) 6.เสียงแตกพร่า(Distortion) เป็นลักษณะการบันทึกที่เสียงเกินจากที่กำหนดจะทำให้เสียงแตก ซึ่งดูได้จาก VU miter ไม่สามารพแก้ไขได้ หากเสียงที่ต่ำกว่า เฮดรูมมาก จะไปเข้าใกล้นอยส์ ทำให้เสียงมีคุณภาพแย่มาก

แนวคิดในการออกแบบห้องบันทึกเสียง ปรับแต่งห้อง Turning a Room

ลักษณะของห้องและผนัง

ปรับเสียง (sound proofing)

การออกแบบผนังห้องบันทึกเสียง

จุดรับฟัง(Sweet spot)

Sound System 5.1

การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead) การสะท้อนและดูดซับของเสียง(live & dead) ในยุคก่อน การบันทึกเสียงมักจะให้เป็นห้องเก็บเสียง(dead room) แต่ทำให้ได้เสียงที่ไม่เป็นธรรมชาติ ดังนั้นจึงมีการนำวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆเข้ามาใช้ในการจัดห้อง เพื่อให้เหมือนกับสภาพเสียงต่างเช่น ในห้องประชุมใหญ่ หรือในสตูดิโอซึ่งผนังห้องที่ต้องการให้เกิดเสียงสะท้อน เรียกว่า reflective หรือ live or wet-sounding room หากผนังต้องการให้ซับเสียงมากเรียกว่า absorbent หรือ dead or dry

การสะท้อนของเสียง

การดูดกลืนของเสียง

วัสดุ อคุสติก acoustic

การดูดซับของเสียง

การบันทึกด้วยเทปเสียง

ห้องบันทึกเสียง