คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
ลิมิตและความต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Sampling Distribution
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การสำรวจทรัพยากรป่าไม้
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
คะแนนและความหมายของคะแนน
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความชันและสมการเส้นตรง
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ คะแนนมาตรฐาน ( Standard score ) หมายถึงการที่เรากำหนดให้คะแนนในมาตราหรือหน่วยใดหน่วยหนึ่งเป็นหน่วยกลาง ที่สามารถแปลงคะแนนในหน่วยอื่น ๆ มาเป็นคะแนนมาตรฐานได้เสมอ ประโยชน์ของคะแนนมาตรฐานใช้เพื่อเป็นหน่วยกลางที่ให้คะแนนจากหน่วยอื่นแปลงมาเป็นหน่วยมาตรฐาน เพื่อใช้เปรียบเทียบกันได้

ตัวอย่างคะแนนมาตรฐาน ตัวอย่าง เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ( US Dollar หรือ $ Dallar ) เป็นหน่วยของเงินตรามาตรฐานของโลก ที่จะใช้เปรียบเทียบเงินตราของประเทศต่าง ๆ ในโลก เช่น อยากทราบว่า เงินไทย ๒๕๐๐ บาท กับ เงินของประเทศตองโกยาจำนวน ๓๐๐๐๐ ซู่ซ่า จำนวนไหนมากกว่ากัน วิธีการต้องแปลงเงินไทยและเงินตองโกยา เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐก่อน แล้วจะสามารถเปรียบเทียบกันได้

การแปลงคะแนนทั่วไปเป็นคะแนนมาตรฐาน z = x – x SD เมื่อ Z เป็นสัญลักษณ์แทนคะแนนมาตรฐาน x เป็นคะแนนแต่ละตัว x เป็นค่าเฉลี่ยของคะแนนกลุ่มนั้น SD เป็นค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนกลุ่มนั้น

คะแนนมาตรฐาน จาก z = x – x SD ค่าเฉลี่ยของ z = 0 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1

โค้งรูประฆังคว่ำ

โค้งรูประฆังคว่ำ

โค้งรูประฆังคว่ำ

โค้งปกติ

โค้งปกติ (Normal Curve)

คุณสมบัติของโค้งปกติ 1. ค่าของคะแนนเฉลี่ย ฐานนิยม และมัธยฐาน จะเท่ากัน ซึ่งเป็นจุดบนแกน X ที่เกิดจากการลากเส้นตั้งฉาก จากจุดที่โค้งสูงที่สุดมายังแกน X

ลักษณะของโค้งปกติ 2. ลักษณะของโค้งเป็นระฆังคว่ำ (bell shaped) 3. เส้นแบ่งครึ่งโค้งอยู่ที่จุดที่เป็นค่าเฉลี่ยของข้อมูล และเส้นนี้ทำให้เส้นโค้งที่อยู่สองข้างมีลักษณะ สมมาตร (symmetry) .

ลักษณะของโค้งปกติ . 4. เส้นปลายทั้งสองข้างของเส้นโค้งจะค่อย ๆ ต่ำลง แต่จะไม่จรดกับแกนนอน 5. พื้นที่ใต้โค้งทั้งหมดมีค่าเท่ากับ 1  

ลักษณะของโค้งปกติ . 5. พื้นที่ใต้โค้งเป็นดังนี้ ประมาณ 68.26% อยู่ระหว่าง -1S ถึง +1S ประมาณ 95.44% อยู่ระหว่าง -2S ถึง +2S และ ประมาณ 99.72% อยู่ระหว่าง -3S ถึง +3S  

ลักษณะของโค้งปกติ . การหาพื้นที่ใต้โค้งปกติ ดูการหาพื้นที่ใต้โค้งในตารางที่ 2 หน้าที่ 285  

การแปลงข้อมูลเป็นคะแนน z ถ้าข้อมูลมีการแจกแจงปกติ และทราบค่า µ และ σ สามารถเปลี่ยนโดยใช้สูตร z = x – µ σ

การแปลงข้อมูลเป็นคะแนน z ถ้าข้อมูลมีการแจกแจงไม่ปกติ จะแปลงทันทีไม่ได้ เพราะถ้าแปลงแล้วก็ไม่ใช่การแจกแจงปกติ ก็นำไปใช้ไม่ได้อยู่ดี กรณีนี้เราจะใช้ทฤษฎีลิมิตสู่ส่วนกลางประยุกต์ใช้ ( Central limit Theorem )

ทฤษฎีลิมิตสู่ส่วนกลาง ถ้าสุ่มตัวอย่างขนาด n ( x1,x2,x3,…xn ) จากประชากรใด ๆ ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ µ และค่าความ แปรปรวนเท่ากับ σ² แล้ว ถ้าตัวอย่างมีขนาดใหญ่แล้ว ค่าเฉลี่ย x จะมีการแจกแจงเข้าสู่การแจกแจงแบบปกติ ที่มีค่าเฉลี่ย µ ค่าแปรปรวน σ²/n หรือ ( x - µ ) มีการแจกแจงโดยประมาณแบบปกติ σ/√n มาตรฐาน

ดังนั้น ดังนั้น z = ( x - µ ) มีการแจกแจง σ/√n แบบปกติ เราสามารถหาพื้นที่ใต้โค้งได้ และ นำไปทดสอบสมมุติฐานทางสถิติได้ ในกรณี ที่มีการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างหนึ่งกลุ่ม หรือสองกลุ่มเท่านั้น

การวิเคราะห์ตัวแปร ๑ ตัว ตัวแปร ๑ ตัว หมายถึงประชากรที่เราศึกษานั้น เราสนใจที่จะศึกษาตัวแปรเพียงหนึ่งตัว ตัวแปรตัวเดียวนั้นอาจจะมีมาตราวัดเป็นแบบ นามบัญญัติ แบบอันดับ แบบช่วง หรือแบบอัตราส่วน ตัวแปรที่มีมาตราวัดต่างกัน จะใช้สถิติวิเคราะห์ที่ ต่างกัน

การทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยตัวแปรเชิงปริมาณ ๑ ตัว ตัวแปรเชิงปริมาณ ข้อมูลที่ศึกษาจะมาตราวัดจะเป็น แบบช่วงหรือแบบอัตราส่วน การที่มีตัวแปรเพียงหนึ่งตัว โดยปกติเราต้องมีการศึกษา เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานหรือค่าใดค่าหนึ่งที่เราต้องการ ค่ามาตรฐานคือค่าเฉลี่ยของประชากรนั่นเอง

ขอขอบคุณ