International Health Policy Program -Thailand 1 มติสมัชชาอนามัยโลก 63.16 ประมวลหลักปฏิบัติองค์การอนามัยโลก ว่าด้วยการสรรหาบุคลากรด้านสุขภาพเข้า ทำงานระหว่างประเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
การจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ เขตพื้นที่บริการเครือข่ายที่ 2
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
Good Corporate Governance
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การค้ามนุษย์.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
Evaluation of Thailand Master Plan
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

International Health Policy Program -Thailand 1 มติสมัชชาอนามัยโลก ประมวลหลักปฏิบัติองค์การอนามัยโลก ว่าด้วยการสรรหาบุคลากรด้านสุขภาพเข้า ทำงานระหว่างประเทศ The Global Code of Practice on international recruitment of Health personnel

International Health Policy Program -Thailand ความเป็นมา 1.ความขาดแคลนบุคลากรด้านสุขภาพ เกิดขึ้นทั่วโลก จาก  การเปลี่ยนผ่านทางประชากร  การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยา 2. องค์การอนามัยโลกคาดประมาณว่า ทั่วโลกยังขาดแคลน แพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์ และบุคลากรสุขภาพอื่น อีกประมาณ 4.3 ล้านคน 3. การรับบุคลากรสุขภาพจากต่างประเทศ เป็นวิธีการ แก้ปัญหาความขาดแคลน ที่ประเทศร่ำรวยใช้  ขาดแคลนกำลังคนวัยแรงงานที่จะเข้าเรียน / ต้องการทำอาชีพอื่นที่มีรายได้มากกว่า งานเบากว่า  ต้นทุนการผลิตกำลังคน แพทย์ พยาบาล สูง 4. การย้ายถิ่นระหว่างประเทศ ของแพทย์ พยาบาล จากประเทศ ที่มี ระดับการพัฒนาน้อยกว่า เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การ กระจายไม่เป็นธรรม 5. ความขาดแคลนนี้ทำให้ระบบสุขภาพของบางประเทศ โดยเฉพาะ ประเทศยากจน เสียหาย

International Health Policy Program -Thailand Doctors trained in sub-Saharan Africa working in eight OECD countries Source Country Total doctor in recipient Countries (A) Total in Home country (B) A/B Angola Cameroon Ethiopia Ghana Mozambique Nigeria South Africa Tanzania Uganda Zimbabwe Total Sub-Saharan Africa Source: World Health Report 2006

International Health Policy Program -Thailand 57 Countries with a critical shortage of health service providers (doctors, nurses and midwives) Source: World Health Report 2006

International Health Policy Program -Thailand Doctors trained in sub-Saharan Africa working in eight OECD countries Source Country Total doctor in recipient Countries (A) Total in Home country (B) A/B Angola Cameroon Ethiopia Ghana Mozambique Nigeria South Africa Tanzania Uganda Zimbabwe Total Sub-Saharan Africa Source: World Health Report 2006

International Health Policy Program -Thailand Nurses and midwives trained in sub-Saharan Africa working in OECD countries Source: World Health Report 2006

International Health Policy Program -Thailand เหตุผลของการย้ายถิ่นของบุคลากรสุขภาพจาก 4 ประเทศใน Sub-Saharan African Source: World Health Report 2006

International Health Policy Program -Thailand สำหรับประเทศไทย  บุคลากรด้านสุขภาพที่ขาดแคลน จากความต้องการด้านสุขภาพ ของประชาชนเพิ่มขึ้น และข้อจำกัดในการรักษาคนไว้ในระบบ  จำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่การกระจายยังไม่เหมาะสม โดยเฉพาะ ปัญหาความแตกต่างระหว่างเมืองและชนบท  จังหวัดขนาดเล็ก ห่างไกล และมีสภาพเศรษฐกิจไม่ดี จะมีความ ขาดแคลนบุคลากรในทุกสาขา  กรุงเทพฯ มี แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล มากกว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถึง 8.5, 4.4, 2.8 และ 3.6 เท่า ตามลำดับ  การขยายบริการสุขภาพภาคเอกชน อาจเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อ  การเคลื่อนย้าย แพทย์ พยาบาล ที่มีความเชี่ยวชาญสูงจากชนบท เข้าเมือง รวมทั้งจากภาครัฐ เข้าสู่ภาคเอกชน  การนำเข้า แพทย์ พยาบาล จากต่างประเทศ หรือ  การเคลื่อนย้าย แพทย์ พยาบาล ไปทำงานต่างประเทศ 8

International Health Policy Program -Thailand 9 ตัวอย่างเหตุการณ์

International Health Policy Program -Thailand ทำไมต้องมี The WHO Global Code of Practice on the International Recruitment of Health Personnel ความเพียงพอและการกระจายอย่างทั่วถึงของกำลังคนด้าน สุขภาพเป็นพื้นฐานของระบบสุขภาพ การขาดแคลนแพทย์ พยาบาล เป็นปัญหาเกิดขึ้นอย่างรุนแรงใน หลายประเทศ และจัดเป็นปัญหาที่คุกคามระบบสุขภาพ และ ลดทอนศักยภาพของประเทศเหล่านี้ในการดำเนินงานให้บรรลุ เป้าหมายของการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) และเป้าหมายการพัฒนาด้านอื่นๆ ที่ได้ตก ลงไว้ในระดับนานาชาติ Kampala Declaration ซึ่งได้มีรับการรับรอง ใน First Global Forum on Human Resources for Health (2 – 7 มีค 2551) และการประชุม G8 ในปี 2551 และ 2552 สนับสนุนให้WHO เร่งรัดดำเนินการพัฒนาและให้การรับรอง ประมวลหลักปฏิบัติว่า ด้วยการสรรหาบุคลากรด้านสุขภาพเข้าทำงานระหว่างประเทศ 10

International Health Policy Program -Thailand สาระสำคัญ The WHO Global Code of Practice on the International Recruitment of Health Personnel 11

International Health Policy Program -Thailand Spirit of The Code อยู่บนหลักการที่ว่าประชากรโลกทุกคนมีสิทธิที่จะมีภาวะ สุขภาพในระดับมาตรฐานสูงสุดที่ควรจะเป็น – ผลกระทบจากการย้ายถิ่นของบุคลากร01 Imagine 3.28min.mp401 Imagine 3.28min.mp4 เคารพในสิทธิของบุคคลในการย้ายถิ่นฐาน ให้ความสำคัญกับมาตรการที่ครบถ้วนที่จะแก้ไขที่สาเหตุ ของการย้ายถิ่นของบุคคลากรสุขภาพ และการสร้างความ ยั่งยืนของระบบสุขภาพ มุ่งปกป้องประเทศที่อยู่ในภาวะวิกฤติกำลังคน ไม่ให้ได้รับ ผลกระทบจากการย้ายถิ่นออก จนระบบสุขภาพอาจเสียหาย 12

International Health Policy Program -Thailand สาระสำคัญ 1.วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นหลักอ้างอิงในการปฏิบัติของประเทศ สมาชิก โดยความสมัครใจ 2.ขอบเขต ครอบคลุมการปฏิบัติทั่วโลก ครอบคลุมผู้เกี่ยวข้อง ทั้งรัฐบาล องค์กรสุขภาพ ภาครัฐ เอกชน NGO บุคลากรด้าน สุขภาพ และผู้จัดหางาน กระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนการนำใช้ Code ใน ประเทศ รวมทั้ง เป็นแนวทางในการทำข้อตกลงระหว่าง ประเทศ กรณีการรับบุคลากรจากต่างประเทศเข้าทำงาน องค์กรวิชาชีพ ดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ของบุคลากร และผู้จัดหางาน บุคลากร ต้องตระหนักถึงความผูกพัน และความ รับผิดชอบที่มีต่อประเทศชาติและประชาชน 13

International Health Policy Program -Thailand สาระสำคัญ 3. การสรรหาบุคลากรอย่างมีจริยธรรม ต้องไม่ดึงดูดบุคลากรจาก ประเทศขาดแคลน ที่อาจทำให้ระบบสุขภาพล้มเหลว บนหลักการ ที่ประชากรทั่วโลก มีสิทธิ ที่จะได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็นที่ได้ มาตรฐาน  การเคลื่อนย้ายอย่างถูกกฎหมายเป็นเสรีภาพส่วนบุคคล  57 ประเทศมีวิกฤต กำลังคน ไม่ควรดูดบุคลากรจากประเทศ เหล่านี้ ( มี แพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์ ต่อ 1,000 ประชากร น้อยกว่า 2.3 คน)  5 ประเทศในอาเซียน ที่มีวิกฤติ(อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว พม่า) 14

International Health Policy Program -Thailand Density of health workforce per 1000 population in South-East Asia countries

International Health Policy Program -Thailand สาระสำคัญ 4. การปฏิบัติต่อบุคลากรผู้ย้ายถิ่นอย่างยุติธรรม เท่าเทียมกับบุคลากร ในประเทศของตน  ตำแหน่งงาน  ค่าตอบแทน  สวัสดิการ  โอกาสการพัฒนาความรู้ และทักษะ  โอกาสความก้าวหน้า 5. แต่ละประเทศต้องลงทุนพัฒนาบุคลากรให้เพียงพอ พัฒนาระบบ สุขภาพให้สามารถดึงดูดบุคลากรไว้ในประเทศ และลดปัจจัยผลัก  การวางแผนกำลังคน  การผลิตและพัฒนากำลังคน  การพัฒนาInfra- structure  การจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์  สภาพการทำงานที่ปลอดภัย และส่งเสริมการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานวิชาชีพ 16

International Health Policy Program -Thailand สาระสำคัญ 6.สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศต้นทางและประเทศปลายทาง  ส่งเสริมการย้ายถิ่นชั่วคราว และย้ายถิ่นกลับ  ประเทศปลายทาง ร่วมลงทุนพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศต้น ทาง เพื่อลดความเสียหาย  ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี  การช่วยเหลือทางการเงิน 7. การการสนับสนุน การนำใช้ Code ในประเทศและการติดตาม ประเมินผล 8.การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศ  ให้ความร่วมมือ กับประเทศสมาชิกอื่นๆ โดยแต่งตั้ง ให้มี National Authority (ประเทศไทยโดย IHPP) 17

International Health Policy Program -Thailand "The migration of health workers needs to be addressed as a matter of urgency because it has reached critical levels. There has to be a political will to address the grievances of health workers without confrontation." Abel Chikanda, Zimbabwe

International Health Policy Program -Thailand Thank you for your attention Q&A 19