ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
Advertisements

กฎหมายอาญาภาคทั่วไป ผศ. สุรวุธ กิจกุศล.
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
สิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
อุทธรณ์.
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
วิชาว่าความและ การถามพยาน
สิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
E-learning Present Human Trafficking.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
ประมวลกฎหมายอาญาทหาร
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
สิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
ประภาศ คงเอียด ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
ขั้นตอนการดำเนินคดี การสืบสวน การวางแผนปฏิบัติการ การตรวจค้น/จับกุม
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการทรัพย์สิน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ดังต่อไปนี้ มาตราที่
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
“การค้ามนุษย์”.
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วยหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
กลุ่มที่ 3 แนวทางในการบูรณาการ การปราบปรามตามกฎหมายฟอกเงิน
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
บทที่ ๒ ผลแห่งหนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์
การสืบสวน.
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การรับฟังพยานหลักฐาน
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ประภาศ คงเอียด ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับลูกจ้างประจำ
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ข่าว “เมาแล้วขับ” กับศาลไทย
แนวทางการดูแลผู้ป่วย นิติจิตเวชในชุมชน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา

1. กรณีความผิดเกิดขึ้นในราชอาณาจักร 1. กรณีความผิดเกิดขึ้นในราชอาณาจักร 1.1 กรณีความผิดเรื่องเดียว มาตรา 22 (ก) ศาลที่ความผิดได้เกิดขึ้น อ้างหรือเชื่อว่าได้เกิดขึ้นในเขตอำนาจของศาลนั้น (ศาลหลัก) (ข) ศาลที่บัญญัติไว้ในมาตรา 22 (1) (ศาลยกเว้น) ได้แก่ ข.1. ศาลแห่งท้องที่ที่จำเลยมีที่อยู่ หมายถึง ถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่งสำคัญ และโดยมีนัยเช่นเดียวกับคำว่า “ภูมิลำเนา”

จำเลยมีถิ่นที่อยู่หลายแห่งสับเปลี่ยนกันไป หรือมีหลักแหล่งที่ทำงานเป็นปกติหลายแห่งให้ถือเอาแห่งใดแห่งหนึ่งเป็นภูมิลำเนาของบุคคลนั้น ถ้าไม่มีถิ่นที่อยู่เป็นปกติ หรือครองชีพในการเดินทางไปมา พบตัวในถิ่นไหนให้ถือว่าถิ่นนั้นเป็นภูมิลำเนาของบุคคลนั้น ภูมิลำเนาของข้าราชการ ได้แก่ ถิ่นอันเป็นที่ทำงานตามตำแหน่งหน้าที่ ภูมิลำเนาของผู้ถูกจำคุก ได้แก่ เรือนจำ แต่ต้องเป็นการจำคุกตามคำพิพากษาอันถึงที่สุด

ข.2. ศาลแห่งท้องที่ที่จำเลยถูกจับ ข.2. ศาลแห่งท้องที่ที่จำเลยถูกจับ หมายถึง เจ้าพนักงานจับจำเลยจริง ๆ ในเขตศาลนั้น ตามที่ถูกกล่าวหา ในกรณีที่จำเลยถูกจับในความผิดฐานอื่นและต่อมาเจ้าพนักงานสอบสวนอีกท้องที่หนึ่งได้อายัดตัวจำเลยจากมาจากพนักงานสอบสวน(คดีแรก) เช่นนี้ ถือไม่ได้ว่าท้องที่ที่มีการจับตัวจำเลยได้ (คดีแรก) เป็นท้องที่ที่มีการจับสำหรับคดีที่ 2 ข.3. ศาลแห่งท้องที่ที่พนักงานสอบสวนทำการสอบสวนนอกเขตศาล ได้แก่ กรณีที่พนักงานสอบสวนทำการสอบสวนนอกเขตศาลแห่งท้องที่ที่ความผิดเกิดขึ้น อ้างหรือเชื่อว่าเกิดขึ้น หรือพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่ผู้ต้องหาหรือจำเลยมีที่อยู่หรือถูกจับ

1.2 กรณีความผิดหลายเรื่องเกี่ยวพันกัน (มาตรา 24) 1.2.1 ความผิดเกี่ยวพันกันตามมาตรา 24(1) มี 2 กรณี ก. ความผิดหลายฐานได้กระทำลงโดยผู้กระทำผิดคนเดียวกัน กฎหมายถือเอาผู้กระทำผิดเป็นสำคัญ ดังนั้น หากความผิดหลายฐานเกิดขึ้นในท้องที่ต่าง ๆ กัน โดยผู้กระทำผิดคนเดียว แม้ความผิดแต่ละฐานนั้นจะขาดตอนไปแล้ว หรือมิได้เกี่ยวพันกัน ก็ถือเป็นความผิดเกี่ยวพันกัน ตามมาตรา 24(1) ข. ผู้กระทำผิดหลายคนเกี่ยวพันกันในการกระทำผิดฐานหนึ่ง หรือหลายฐาน จะเป็นตัวการ ผู้สมรู้หรือรับของโจร กฎหมายถือเอาการกระทำความผิดไม่ว่าจะฐานเดียวหรือหลายฐาน

1.2.2. ความผิดเกี่ยวกับตามมาตรา 24(2) มี 2 กรณี 1.2.2. ความผิดเกี่ยวกับตามมาตรา 24(2) มี 2 กรณี ก. ความผิดหลายฐานได้กระทำลงโดยมีเจตนาอย่างเดียวกัน จำเลยกระทำผิดฐานพาหญิงไปเพื่อการอนาจารโดยใช้อุบายหลอกลวงในท้องที่หนึ่ง แล้วพาไปหน่วงเหนี่ยวกักขังอีกท้องที่หนึ่ง จากนั้นพาไปข่มขืนกระทำชำเราอีกท้องที่หนึ่ง ข. ความผิดหลายฐานได้กระทำลงโดยผู้กระทำผิดทั้งหลายได้คบคิดกันมาก่อนแล้ว เป็นเรื่องที่ความผิดแต่ละฐานผู้กระทำความผิดต่างกระทำโดยลำพัง มิได้กระทำผิดในฐานะเป็นตัวการ หรือผู้สมรู้ เหมือนกรณีตามมาตรา 24(1) เช่นจำเลยหลายคนได้ร่วมกันปลอมเงินตราในท้องที่หนึ่ง โดยวางแผนกันนำไปใช้ในอีกท้องที่หนึ่ง

เช่น ญาติผู้ต้องหาได้ช่วยผู้ต้องหาให้หลบหนีที่คุมขัง หรือแหกที่คุมขัง 1.2.3 ความผิดเกี่ยวพันกันตาม มาตรา 24(3) เป็นกรณีความผิดฐานหนึ่งเกิดขึ้น โดยมีเจตนาช่วยผู้กระทำผิดอื่น ให้พ้นจากการรับโทษในความผิดอย่างอื่นซึ่งเขาได้กระทำไว้ เช่น ญาติผู้ต้องหาได้ช่วยผู้ต้องหาให้หลบหนีที่คุมขัง หรือแหกที่คุมขัง

ในคดีเกี่ยวพันกันดังกล่าวโจทก์มีอำนาจฟ้องดังนี้ 1. ฟ้องคดีทุกเรื่องโดย 1. ฟ้องคดีทุกเรื่องโดย 1.1 แยกแต่ละฐานความผิด ยังศาลนั้นๆที่มีเขตอำนาจตาม มาตรา 22 1.2 แยกฟ้องจำเลยแต่ละคนยังศาลที่มีเขตอำนาจตาม มาตรา 22 2. ฟ้องคดีเกี่ยวพันกันยังศาลๆเดียวกัน โดย 2.1 ฟ้องต่อศาลที่มีอำนาจชำระในความผิดซึ่งมีอัตราโทษสูงกว่า หรือ 2.2 ถ้ามีอัตราโทษสูงเสมอกัน ให้ฟ้องต่อศาลหนึ่งศาลใดก็ได้

2. ความผิดนอกราชอาณาจักร ม.22 (2) ศาลที่มีอำนาจชำระได้แก่ 2. ความผิดนอกราชอาณาจักร ม.22 (2) ศาลที่มีอำนาจชำระได้แก่ ศาลอาญา หรือ ศาลซึ่งการสอบสวนได้กระทำลงในเขตศาล