กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
บทที่ 2.
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย
การชักและหอบ.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การนวดไทยแบบราชสำนัก
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬา กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ

วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sport Science ) การนำความรู้ที่ได้โดยการสังเกต ค้นคว้าหาหลักฐานและเหตุผล มาใช้กับกิจกรรมการเล่นกีฬา หรือการออกกำลังกาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และคุณประโยชน์ในด้านการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ

วิทยาศาสตร์การกีฬาประกอบด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ชีวกลศาสตร์ โภชนาการการกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการกีฬา เทคโนโลยีการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา

1.  กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

2.  สรีรวิทยาการออกกำลังกาย (Exercise physiology)

3. ชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sports biomechanics)

4. โภชนาการการกีฬา (Sports nutrition)

5. เวชศาสตร์การกีฬา (Sports medicine)

6. วิศวกรรมและเทคโนโลยีการกีฬา (Sports engineering and technology)

7. จิตวิทยาการกีฬา (Sports psychology)

8. การจัดการการการกีฬา (Sports Management)

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกาย ( Exercise ) หมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการกระตุ้นให้ส่วนต่างๆของร่างกายทำงานมากกว่าภาวะปกติอย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของเพศ วัย  และสภาพร่างกายของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ จนส่งผลให้ร่างกายและจิตใจมีความสมบูรณ์แข็งแรง

ความสำคัญของการออกกำลังกาย

ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อระบบต่างๆของร่างกาย

ชนิดของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายจึงแบ่งออกได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1. การออกกำลังกายแบบแอนแอโรบิก (Anaerobic Exercise) หมายถึง การออกกำลังกายแบบไม่ต้องใช้ออกซิเจน 2. การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) หมายถึง การออกกำลังกายชนิดที่ต้องใช้ออกซิเจน หรือมีการหายใจในขณะออกกำลังกาย

หลักและวิธีการออกกำลังกาย 1. ความหนักของการออกกำลังกาย

Continuous or intermittent (10 min. each bout) 2. ความนานของการออกกำลังกาย  20-60 minutes/sesssion Continuous or intermittent (10 min. each bout)

For moderate intensity, at least 3 days/week 3. ความบ่อยของการออกกำลังกาย For moderate intensity, at least 3 days/week For lower intensity, more than 3 days/week is required

ข้อควรคำนึงสำหรับผู้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 1. การประมาณตน  2. การแต่งกาย  3 เลือกเวลาและดินฟ้าอากาศ  4. สภาพของกระเพาะอาหาร  5. การดื่มน้ำ  6. ความเจ็บป่วย  7. ความเจ็บป่วยระหว่างการออกกำลังกาย  8. ด้านจิตใจ  9. ความสม่ำเสมอ  10. การพักผ่อน 

ขั้นตอนปฏิบัติของการออกกำลังกาย 2. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (stretching) 1. การอบอุ่นร่างกาย  (warm – up)  2. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ  (stretching)  3. การออกกำลังกาย  (exercise) 4. ขั้นคลายอุ่นร่างกายร่วมกับการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ  (cool  down) 

ประโยชน์ของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพ ประโยชน์ของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพ  1.เพิ่มสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือด 2. เพิ่มความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อ 3. ลดความตึงเครียดของจิตใจ 4. เพิ่มความอ่อนตัวกล้ามเนื้อและเอ็นยึดข้อยืดหยุ่นตัวดีขึ้น 5. ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของข้อต่อ 6. เพิ่มประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวร่างกาย

ข้อควรปฏิบัติสำหรับการออกกำลังกาย 1. เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย   2. เริ่มออกกำลังกายจากน้อยไปหามาก   3. เลือกกิจกรรมที่ง่ายประหยัดงบประมาณ   4. ออกกำลังกายในสภาพอากาศที่เหมาะสม   5. พักผ่อนให้เพียงพอหลังจากออกกำลัง   6 หมั่นตรวจสมรรถภาพทางกายของตนเอง เช่น จับชีพจรหลังจากตื่นนอน   7. เมื่อมีปัญหาในการออกกำลังกายให้ปรึกษาแพทย์   8. การออกกำลังกายต้องทำอย่างสม่ำเสมอ   9. ควรออกกำลังกายเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะเพื่อความสนุกสนาน 10. ควรทำการทดสอบสมรรถภาพทุก 2 เดือน

2. หลังจากฟื้นไข้ใหม่ๆและในระหว่างพักฟื้นจากการบาดเจ็บ ข้อห้ามสำหรับการออกกำลังกาย                1. มีอาการเจ็บป่วย เช่น มีไข้  ท้องร่วง ฯลฯ              2. หลังจากฟื้นไข้ใหม่ๆและในระหว่างพักฟื้นจากการบาดเจ็บ              3. หลังจากรับประทานอาหารใหม่ๆ (ควรออกกำลังกายหลัง รับประทานอาหารอย่างน้อย   2-3 ชั่วโมง)                4. ในสภาพอากาศที่ร้อนจัดและอบอ้าว

ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย  1. ผู้ป่วยโรคหัวใจ  ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน  ผู้สูงอายุ  ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการออกกำลังกาย และทำตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด   2. ควรหยุดออกกำลังกายเมื่อมีอาการต่อไปนี้ - รู้สึกเหนื่อยมาก แน่นหน้าอก - มิอาการใจสั่น 3. พักผ่อนไม่เพียงพอ

Muscular Exercise

Exercise Intensity Weights that are heavy enough to be lifted for 8 – 12 repetitions (reps.)

Exercise Duration 8-10 exercise for body major muscle groups Each exercise lifts 8-12 reps.(1 Set) 10-20 minutes per session

Exercise Frequency At least 2 training sessions per week

การเลือกเครื่องมือออกกำลังกาย