คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
Advertisements

คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน
ความน่าจะเป็น Probability.
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
Probability & Statistics
Probability & Statistics
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Decision Tree Analysis
Use Case Diagram.
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
วิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา
Introduction to Digital System
เกม (Game) หมายถึง การแข่งขัน
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
Flow Chart INT1103 Computer Programming
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเร่งโครงการ Expedite Project.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
หลักการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ครูธีระพล เข่งวา 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ครูผู้สอน …… นายธี ระพล เข่งวา โรงเรียนวัง.
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

2.4) ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความน่าจะเป็น 2.4) ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ

แม้ว่าความน่าจะเป็น จะช่วยให้เรารู้ว่าเหตุการณ์ที่พิจารณาอยู่นั้น มีโอกาสเกิดขึ้น มากน้อยเพียงใด แต่บางเหตุการณ์ ความรู้เรื่องความน่าจะเป็นเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ที่จะช่วยเราตัดสินใจได้ จำเป็นจะต้องหาองค์ประกอบอื่นมาช่วยในการตัดสินใจด้วย

ซึ่งองค์ประกอบหนึ่ง คือ ผลตอบแทน ของการเกิดเหตุการณ์ นั้น ในทางสถิติได้นำ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์และผลตอบแทนของการเกิดเหตุการณ์นั้น มาพิจารณาประกอบกันเป็น ค่าคาดหมาย ซึ่งหาได้จาก

ค่าคาดหมาย = นั่นคือ ค่าคาดหมาย = ผลรวมของผลคูณระหว่างความน่าจะเป็นของเหตุการณ์กับผลตอบแทนของเหตุการณ์ ค่าคาดหมาย = นั่นคือ (ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ที่ได้ × ผลตอบแทนที่ได้) + (ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เสีย × ผลตอบแทนที่เสีย) ค่าคาดหมาย =

หมายเหตุ ผลตอบแทนของเหตุการณ์ มี 2 อย่าง คือ 1) ผลตอบแทนที่ได้ 2) ผลตอบแทนที่เสีย ตัวอย่าง เช่น ในการเล่นแทงหัว, ก้อย ถ้าออกหัวอ้อจะได้เงิน 1 บาท

แต่ถ้าออกก้อย อ้อจะต้องเสียเงิน 2 บาท เงิน 1 บาท ที่อ้อจะได้รับเป็นผลตอบแทน ที่ได้ ซึ่งแทนด้วย +1 และเงิน 2 บาท ที่อ้อจะต้องเสียเป็นผลตอบแทนที่เสีย ซึ่งแทนด้วย -2

ให้นักเรียนพิจารณาการหาค่าคาดหมายของการพนันโยนเหรียญ ต่อไปนี้ นาย ก และ นาย ข เล่นพนันโยนเหรียญกัน โดยมีกติกาว่า ให้นาย ข โยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง

ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคู่แล้ว นาย ก จะจ่ายเงินให้ นาย ข 2 บาท แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่น นาย ข ต้องจ่ายเงินให้ นาย ก 1 บาท ถ้ามีการพนันโยนเหรียญกันแบบนี้ไปเรื่อย ๆ หลาย ๆ ครั้ง นักเรียนคิดว่า นาย ก หรือ นาย ข จะได้เงินมากกว่ากัน จงอธิบาย

ในการตอบคำถามข้างต้น เราอาจใช้ ค่าคาดหมายมาช่วยในการพิจารณา ดังนี้ ในการโยนเหรียญบาทที่เที่ยงตรง 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น มี 4 แบบ คือ HH, TT, HT และ TH

= = 1 4 3 4 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ที่เหรียญออกหัวทั้งคู่ ที่เหรียญไม่ออกหัวทั้งคู่ 3 4 =

เนื่องจาก ถ้าเหรียญออก HH (ออกหัวทั้งคู่) นาย ก จะต้องจ่ายเงินให้นาย ข 2 บาท ดังนั้น ผลตอบแทนของเหตุการณ์ที่ได้ คือ นาย ข ได้เงิน 2 บาท จึงแทนด้วย +2 และในการโยนแต่ละครั้ง ถ้าเหรียญไม่ออก HH นาย ข จะต้องจ่ายเงินให้ นาย ก 1 บาท

ดังนั้น ผลตอบแทนของเหตุการณ์ที่เสีย คือ นาย ข เสียเงิน 1 บาท จึงแทนด้วย -1 การพนันโยนเหรียญหนึ่งครั้ง ค่าคาดหมาย ที่ นาย ข จะได้เงินเป็นดังนี้

= ค่าคาดหมาย (ผลตอบแทนที่ได้ × ความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์ที่ออกหัวทั้งคู่) + (ผลตอบแทนที่เสีย × ความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์ที่ไม่ออกหัวทั้งคู่)

+2  1 4 - 1  3 4 = + ค่าคาดหมาย 1 2 1 2 - = + - 1 4 = - 0.25 =

นั่นคือ ค่าคาดหมาย ที่นาย ข จะได้เงิน เท่ากับ -0.25 บาท แสดงว่า ถ้ามีการพนันโยนเหรียญกันแบบนี้ไปเรื่อย ๆ หลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ย นาย ข จะเสียเงินครั้งละ 0.25 บาท กล่าวได้ว่า นาย ก จะได้เงินมากกว่า นาย ข

หมายเหตุ ถ้าเปลี่ยนกติกาใหม่ คือ ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคู่แล้ว นาย ก จะจ่ายเงินให้ นาย ข 3 บาท แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่น นาย ข ต้องจ่ายเงินให้ นาย ก 1 บาท ในกรณีนี้ การพนันโยนเหรียญหนึ่งครั้ง ค่าคาดหมาย ที่ นาย ข จะได้เปลี่ยนแปลงไป

นาย ข จะได้ค่าคาดหมาย เป็นเงิน 0 บาท (การคำนวณหาค่าคาดหมายโดยวิธีเดียวกัน) แสดงว่า ถ้ามีการพนันโยนเหรียญกันแบบนี้ไปเรื่อย ๆ หลาย ๆ ครั้ง ทั้ง นาย ก และ นาย ข จะเสมอตัว ไม่มีใครได้เงินมากกว่ากัน