การดำเนินงานผู้สูงอายุตำบลป่าเซ่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นโยบายด้านบริหาร.
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานผู้สูงอายุตำบลป่าเซ่า นำเสนอโดย นางสุภาพร เอี่ยมอ่อน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าเซ่า

ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าเซ่า พันธกิจ : ให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวมที่ได้มาตรฐาน ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสุขภาพในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคีเครือข่าย พัฒนาระบบ บริหาร บริการ วิชาการให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน วิสัยทัศน์ : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าเซ่า มุ่งสู่บริการที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เน้นงานเชิงรุก เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

จำนวนผู้สูงอายุตำบลป่าเซ่า ปี 2554 - 2556

จำนวนผู้สูงอายุแยกตามกลุ่มช่วงอายุ ปี 2556 80 ปี ขึ้นไป : 137 คน อายุ 75 – 79 ปี : 168 คน อายุ 70 – 74 ปี : 215 คน อายุ 65- 69 ปี : 271 คน อายุ 60-64 ปี : 427 คน

กราฟแสดงจำนวนผู้สูงอายุ ADL ระดับ 1,2,3 เปรียบเทียบปี 2554-2556

กราฟแสดงผลการคัดกรองกลุ่มโรค NCD ผู้สูงอายุปี 2554-2556

กราฟแสดงสถานการณ์เจ็บป่วยโรคที่พบบ่อยสูงสุด ปี 2554-2556

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุโดยแบบติดตามเยี่ยมบ้าน (ของ รพ.สต) ทุก 6 เดือนโดยอาสาสมัครสาธารณสุข วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับกลุ่ม เพื่อแบ่งกลุ่มตามสภาวะสุขภาพรายคน กำหนดแผนในการดูแลรายบุคคล ดำเนินงานเยี่ยมตามแผน

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ) ติดตามผลการเยี่ยมของผู้ทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ ( ส่งรายงานในการดูแลทุกวันที่ 20 ของเดือน / โทรแจ้งกรณีผู้สูงอายุอาการเปลี่ยนแปลงเร่งด่วน ) มีการขอรับคำปรึกษา/ส่งต่อเครือข่าย ทีมสหวิชาชีพในกรณี case ยุ่งยากซับซ้อน การเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลอุตรดิตถ์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

การให้คำปรึกษา/ส่งต่อ/ติดตามเครือข่ายผู้สูงอายุตำบลป่าเซ่า ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ) อปท./คณะกรรมการหมู่บ้าน ศูนย์ประสานเครือข่าย (ร.พ.อต.) ทีม สหวิชาชีพ (แพทย์ ,เภสัชฯ , นักกายภาพ ,นักสังคมสงเคราะห์ ฯ ) พยาบาลผู้รับผิดชอบงาน HHC เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลประจำหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข ( อสม.) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ การให้คำปรึกษา/ส่งต่อ/ติดตามเครือข่ายผู้สูงอายุตำบลป่าเซ่า

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ) - การอบรมฟื้นฟูอาสาสมัครสาธารณสุขและจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุโดยมีผู้ผ่านการอบรมด้านการดูแลผู้สูงอายุจำนวน 113 คน คิดเป็นอัตราส่วน อสม./จิตอาสา 1 คน ดูแลผู้สูงอายุ 11 คน

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ) มีการจัดอบรมฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง แก่ผู้ดูแล

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.ป่าเซ่า (ต่อ)

กิจกรรมคัดกรองสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ   ปัจจัยเสี่ยง สภาวะช่องปาก ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก หมู่ จำนวนผู้สูงอายุ เบาหวาน เคี้ยวหมาก สูบบุหรี่ ฟันผุ ใส่ฟันเทียมถอดได้ ได้รับการตรวจ ไม่ได้รับการตรวจ คน ร้อยละ 1 230 25 10.87 5 2.17 15 6.52 35 15.22 18 7.83 124 53.91 106 46.09 2 153 14 9.15 11 7.19 45 29.41 48 31.37 82 53.59 88 57.52 3 195 12.82 9 4.62 78 40.00 44 22.56 7.69 98 50.26 97 49.74 4 112 42.86 8 7.14 62 55.36 32 28.57 9.82 74 66.07 69 61.61 201 17.41 6 2.99 58 28.86 28 13.93 22 10.95 114 56.72 87 43.28 248 42 16.94 7 2.82 67 27.02 24 9.68 26 10.48 135 54.44 113 45.56 108 31 28.70 5.56 23 21.30 29 26.85 21 19.44 71 65.74 53.70 138 17.39 10.14 39 28.26 20.29 92 66.67 76 55.07 1156 244 17.62 66 4.77 387 27.94 261 18.84 155 11.19 790 57.04 694 50.11 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 790 คน ผู้สูงอายุมีฟันแท้และฟันเทียมอย่างน้อย 20 ซี่ จำนวน 159 คน คิดเป็นร้อยละ 20.12 ผู้สูงอายุมีฟันเคี้ยวอาหาร 4 คู่สบ จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 23.41

ผลการดำเนินกิจกรรมตรวจ คัดกรองช่องปากผู้สูงอายุ .

ผลการดำเนินกิจกรรม ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรงเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย จำนวน 1 ราย ได้รับการส่งต่อและการเยียวยาโดยชุมชนและญาติจนเป็นปกติ .

ผลการดำเนินกิจกรรม ภาวะกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดแข็งจำนวน 4 ราย ได้รับ การดูแลฟื้นฟูสภาพปัจจุบันไม่มีภาวะข้อติดจำนวน 1 ราย .

ผลการดำเนินกิจกรรม ภาวะแทรกซ้อนจากแผลกดทับจำนวน 3 ราย ได้รับการดูแล จนแผลหาย จำนวน 1 ราย ไม่เกิดแผลกดทับบริเวณใหม่ 2 ราย .

ผลการดำเนินกิจกรรม มีแหล่งให้บริการจัดยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียง .

ผลการดำเนินกิจกรรม สติ๊กเกอร์เตือนใจ สูงวัย ใช้ยาถูกวิธี COI : ความคลาดเคลื่อนในทางยา (Administration Error) ปี 2555 45.5 ปี 2556 64.8 .

ผลการดำเนินกิจกรรม การดูแลผู้สูงอายุที่คาสายสวนปัสสาวะ เพื่อลดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (มีผู้ป่วยสูงอายุคาสายสวน จำนวน 4 ราย) เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะทุก 1 เดือน คำแนะนำในการดูแล , เทน้ำปัสสาวะจากถุง, การดูแลสายสวนให้เป็นระบบ Close system ระวังไม่ให้ปัสสาวะไหลย้อนกลับ อัตราการติดเชื้อจากการคาสายสวนในผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียง ปี 2556 = 0 .

ผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ Care giver ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง .

“รอกบริหารขา" HEALTH

“รอกบริหารแขน" HEALTH

ผลการดำเนินกิจกรรม ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงการรับบริการสูงขึ้น ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพตนเอง เพิ่มขึ้น จากอัตราการคัดกรองสุขภาพด้วยโรคเบาหวาน ความดัน ต้อกระจก เดิม 981 คน เพิ่มขึ้นเป็น 1156 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 .

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความร่วมมือจากองค์กรส่วนท้องถิ่น / แกนนำชุมชน ระบบแม่ข่าย / ทีมสหวิชาชีพที่เข้มแข็ง การพัฒนาต่อเนื่อง : โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตำบลป่าเซ่า

ขอบคุณค่ะ .