นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
Thyroid.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
Ovarian tumor, morbid obesity
Management of Pulmonary Tuberculosis
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
Myasthenia Gravis.
นศ.ภ. จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
Medication Review.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
21/02/54 Ambulatory care.
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน Diabetes.
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
Thyroid gland.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SEPSIS.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล Hyperkalemia นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล

hemolysis, thrombocytosis, Hyperkalemia ระดับ โปแตสเซียมในเลือดมากกว่า 5.0 mEq/L สาเหตุ hemolysis, thrombocytosis, leukocytosis Pseudohyperkalemia ??? คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะปกติ

สาเหตุ Hyperkalemia แบ่งสาเหตุการเกิด ภาวะ hyperkalemia เป็น 3 กลุ่ม การได้รับโปแตสเซียม (hypercatabolism Rhabdomyolysis tumor lysis syndrome intravascular hemolysis การเคลื่อนของโปแตสเซียมออกจากเซลล์  ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เพิ่ม plasma osmolality ทำให้โปแตสเซียมออกจากเซลล์ การได้รับยากลุ่มต่างๆที่มีผลทำให้โปแตสเซียมเคลื่อนออกจากเซลล์ - digitalis (ยายับยั้งการทำงานของNa-K ATPase pump) - succinylcholine (ยาออกฤทธิ์depolarizeของเซลล์กล้ามเนื้อ)

สาเหตุ Hyperkalemia การขจัดโปแตสเซียมทางไตลดลง เป็นกลไกหลักของภาวะhyperkalemiaส่วนใหญ่เกิดจากภาวะไตวายทั้งในกลุ่มไตวายฉับพลันและไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังจะเกิด ภาวะ hyperkalemia  เมื่อGFR น้อยกว่า10mL/min สามารถแยกสาเหตุที่ทำให้การขับโปแตสเซียมทางไตลดลงเป็น3กลุ่มคือ • ปริมาณของเกลือโซเดียมและน้ำมาท่อไตส่วนปลายลดลง • การทำงานของระบบ renin-angiotensin-aldosteroneผิดปกติ ในภาวะปกติaldosterone จะกระตุ้นการทำงานของprinciple cell บริเวณ collectingtubuleของไตทำ ให้ขับโปแตสเซียมออกทางปัสสาวะเพิ่มขึ้นในกรณีที่ขาดaldosteroneจะเกิดภาวะ hyperkalemia เกิดขึ้น สาเหตุ

สาเหตุ Hyperkalemia • ความผิดปกติของท่อไตในการขับโปแตสเซียม • ความผิดปกติของท่อไตในการขับโปแตสเซียม (defect inrenaltubularpotassiumsecretion)  ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีระดับrenin และaldosterone อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือสูงขึ้น แต่ผู้ป่วยไม่สามารถขับโปแตสเซียมออกทางปัสสาวะได้เชื่อว่าท่อไตไม่ตอบสนองต่อการทำงานของฮอร์โมนดังกล่าว

อาการแสดง Hyperkalemia ภาวะ hyperkalemia จะยกระดับให้ resting membranepotentialของเซลล์ต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับ electrical หรือ nerveconduction มีค่าสูงขึ้นทำให้action potentialเกิดได้ง่าย เกิด cardiac arrhythmia ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของ EKGมักพบเมื่อระดับโปแตสเซียมในเลือดมากกว่า 6mEq/Lและมักจะสัมพันธ์กับระดับของโปแตสเซียมในเลือด อาการแสดง ระบบประสาท เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงแบบ ascending paralysis คลื่นไส้อาเจียนปวดท้อง

Hyperkalemia การรักษา

Calcium polystyrene sulfonate (Kalimate) & Sodium polystyrene sulfonate (Kayexalate) กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์โดยอาศัยการแลกเปลี่ยนระหว่างโซเดียม หรือแคลเซียมกับโปแตสเซียมบริเวณลำไส้ใหญ่ เพื่อขับโปแตสเซียมออกมากับอุจจาระ Onset : 1 – 2 hr Duration : 4 – 6 hr

Side effect : Constipation, loss of appetite, nausea or vomiting ขนาดและการบริหารยา : (ขึ้นกับระดับโปแตสเซียมของผู้ป่วย) - Oral: 15-30 g in 30 mL of 20% sorbitol solution to be divided 2 – 3 times/day - Rectal: 50 g in 20% sorbital solution or D/W 100 ml single dose

การคำนวณขนาดยา Kalimate (1 ซอง = 5 กรัม) : ปริมาณ 1 กรัมของ resin จะนำ K ออกจากร่างกายได้ประมาณ 1.3-2.0 mEq/L ขนาดยาที่แนะนำ คือ 15-30 กรัมต่อวัน ซึ่งให้ผลลดระดับ serum K ได้ประมาณ 1 mEq/L Kayexalate : ปริมาณ 1 กรัมของ resin จะนำ K ออกจากร่างกายได้ประมาณ 0.5-1.0 mEq/L และจะได้รับ Na กลับเข้าไปประมาณ 2-3 mEq/L

ตัวอย่างการคำนวณ ผู้ป่วยน้ำหนัก 60 kg (ปริมาณน้ำในร่างกายประมาณ 30 L) และต้องการลดระดับ K ในเลือดลงประมาณ 2 mEq/L (เช่น จาก K 6.7 mEq ให้เหลือไม่เกิน 5 mEq) การคำนวณ : ปริมาณ K ที่ต้องถูกนำออกร่างกาย = 30 L x 2 mEq/L = 60 mEq กรณีใช้ Kalimate : K ถูกนำออกจากร่างกาย 1.3-2.0 mEq ต้องใช้ยา 1 กรัม ดังนั้นถ้าต้องการนำ K ออกจากร่างกาย 60 mEq ต้องได้รับยา = 30-45 กรัม กรณีใช้ Kayexalate : K ถูกนำออกจากร่างกาย 0.5-1.0 mEq ต้องใช้ยา 1 กรัม ดังนั้นถ้าต้องการนำ K ออกจากร่างกาย 60 mEq ต้องได้รับยา = 60-120 กรัม

Case : Hyperkalemia HN : 967138 ผู้ป่วยชายไทย อายุ 70 ปี ถูกวินิจฉัยว่าเป็น Chronic renal failure ผู้ป่วยได้รับยาดังนี้ (วันที่ 01/07/52) - Ca carbonate 600 mg 1 x 2 pc - Folic acid 5 mg 1 x 1 pc - Calcium polystyrene sulfonate (Kalimate) 1 x 3 pc - Sodamint 300 mg 1 x 3 pc - Vit. B1-B6-B12 1 x 3 pc

ค่า Lab 01/07/52 20/05/52 ค่าปกติ K 6.7 5.4 3.5-5.0 BUN 112 93 9-19 Creatinine 15.1 12.7 0.5-1.5 Na 135 135-150 Cl 108 106 97-108

จากผลการตรวจ lab พบว่าผู้ป่วยมีระดับ K ในเลือดสูง ( K = 6 จากผลการตรวจ lab พบว่าผู้ป่วยมีระดับ K ในเลือดสูง ( K = 6.7 mEq/L) (Goal: 3.5-5.0 mEq/L) ซึ่งเรียกว่า Hyperkalemia สามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งในผู้ป่วยรายนี้น่าจะมีภาวะนี้เนื่องมาจากไตทำหน้าที่บกพร่องคือ Chronic renal failure อีกทั้งสังเกตจากค่า BUN และ Cr ที่มีค่าสูงขึ้นก็สามารถบ่งชี้ถึงสภาพการทำงานของไตที่ย่ำแย่ลง ดังนั้นผู้ป่วยจึงได้รับยารักษาภาวะดังกล่าว คือ Calcium polystyrene sulfonate (Kalimate) 1 x 3 pc ซึ่งขนาดที่ผู้ป่วยได้รับมีความเหมาะสมแล้ว เนื่องจากต้องการลดระดับ K ในเลือดลงประมาณ 1.7 (6.7-5.0) ซึ่งผู้ป่วยรายนี้ได้รับยาขนาด 15 mg/day (ขนาดยาที่แนะนำ = 15-30 mg/day)

Thank you for your attention