โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

ทังสเตน ทังสเตนหรือวุลแฟรม ( W ) เป็นโลหะสีเทาเงิน นำความร้อนและไฟฟ้าดีมาก ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
สนามกีฬา.
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
บรรยากาศ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
(Structure of the Earth)
and Sea floor spreading
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
Basic Graphics by uddee
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา (แถบแอฟริกาตะวันตก)
Magnetic Particle Testing
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
Assignment เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
Class Polyplacophora.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
โครงสร้างโลก.
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ

โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ   นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลก ออกเป็น 5 ส่วน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทาง กายภาพ ดังนี้            

ลิโทสเฟียร์ (Lithosphere) คือ ส่วนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและ แมนเทิลชั้นบนสุด ดังนี้  เปลือกทวีป (Continental crust) ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร                    

ลิโทสเฟียร์ (Lithosphere)   เปลือกสมุทร (Oceanic crust) เป็น หินบะซอลต์ความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความหนาแน่น 3 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (มากกว่าเปลือกทวีป)                   

ลิโทสเฟียร์ (Lithosphere)  แมนเทิลชั้นบนสุด (Uppermost mantle) เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและเปลือกสมุทร อยู่ลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร            

แอสทีโนสเฟียร์ (Asthenosphere) เป็นแมนเทิลชั้นบนซึ่งอยู่ใต้ลิโทสเฟียร์ลงมาจนถึง ระดับ 700 กิโลเมตร เป็นวัสดุเนื้ออ่อนอุณหภูมิ ประมาณ 600 – 1,000C เคลื่อนที่ด้วยกลไกการ พาความร้อน (Convection) มีความหนาแน่น ประมาณ 3.3 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร           

เมโซสเฟียร์ (Mesosphere)   เป็นแมนเทิลชั้นล่างซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแข็งอุณหภูมิ ประมาณ 1,000 – 3,500C มีความหนาแน่น ประมาณ 5.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร            

แก่นชั้นนอก (Outer core)   อยู่ลึกลงไปถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เป็น เหล็กหลอมละลายมีอุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500C เคลื่อนตัวด้วยกลไกการพาความร้อน ทำให้เกิด สนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่น 10 กรัมต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร          

แก่นชั้นใน (Inner core)