บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
MK201 Principles of Marketing
เศรษฐกิจพอเพียง.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การจัดการเรียนรู้ Learning
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนกลยุทธ์.
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
วิธีการทางสุขศึกษา.
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
( Organization Behaviors )
การจูงใจ (Motivation)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
(Organizational Behaviors)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
บทที่ 7 กระบวนการบริการ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก ในกิจกรรมการซื้อ ในอนาคต

แนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ 1. แนวคิดด้านพฤติกรรมศาสตร์ : ติดต่อ ระหว่างสิ่งกระตุ้นขั้นต้น และสิ่งกระตุ้นทุติย ภูมิ 2. แนวคิดด้านความเข้าใจ : การแก้ปัญหา

ทฤษฎีการเรียนรู้ พฤติกรรม ศาสตร์ ความเข้าใจ ทฤษฎีการ เรียนรู้ การเรียนรู้ แบบ คลาสสิก การวางเงื่อนไข ในการปฏิบัติ

ลักษณะของการ เรียนรู้ กระบวนการที่มีวิวัฒนาการไปตาม กาลเวลาและไม่สามารถสังเกตเห็นได้ โดยตรง สะท้อนประสบการณ์ปัจจุบันและภูมิ หลัง

ทฤษฎีการเรียนรู้ทาง พฤติกรรมศาสตร์ ผู้บริโภ ค สิ่ง กระตุ้น การ ตอบสนอง ผู้บริโภคคือกล่องดำ : มุมมองของการ เรียนรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์

องค์ประกอบของทฤษฎีการเรียนรู้แบบ คลาสสิก สิ่งกระตุ้นที่ไม่มี เงื่อนไข (US) เนื้อบด สิ่งกระตุ้นที่มี เงื่อนไข (CS) กระดิ่ง สิ่งกระตุ้นที่มี เงื่อนไข (CS) กระดิ่ง การตอบสนองที่ไม่ มีเงื่อนไข (UR) การขับน้ำลาย ออกมา การตอบสนองที่มี เงื่อนไข (CR) น้ำลายไหล จุดเน้น : ความสัมพันธ์จากการซ้ำ และความใกล้ชิด

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิก (Classical Conditioning) - การทำซ้ำ - การสร้างบทสรุปทั่วไปเกี่ยวกับสิ่ง กระตุ้น -family branding - การแยกความแตกต่างของสิ่งกระตุ้น

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขในการปฏิบัติ (Instrumental Conditioning, Operant Conditioning) - สิ่งเสริมแรงของทฤษฎีการวางเงื่อนไขใน การปฏิบัติ สิ่งเสริมแรงด้านบวก สิ่งเสริมแรงด้านลบ การลงโทษ - สิ่งเสริมแรง ( บวก ลบ ) เพิ่มพฤติกรรม - การลงโทษ ลดพฤติกรรม

แสดงถึงทฤษฎีการวางเงื่อนไขในการ ปฏิบัติ พฤติกรรม รางวัล หรือ การลงโทษ การเพิ่มหรือการลด ของความน่าจะเป็น ที่จะตอบสนอง จุดเน้น : การเสริมแรง ; ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ ของการกระทำของผู้เรียนรู้

- กำหนดเวลาการเสริมแรง การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่คงที่ การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ผัน แปร การเสริมแรงในอัตราส่วนคงที่ การเสริมแรงในอัตราส่วนผันแปร

ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านความเข้าใจ พิจารณาการเรียนรู้ว่าเป็นกระบวนการแก้ปัญหา มากกว่าที่จะ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งกระตุ้นและการ ตอบสนอง

ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านความเข้าใจ เป้าหมายพฤติกรรมที่ มี วัตถุประสงค์ ปัญหา ภายใน การบรรลุ เป้าหมาย จุดเน้น : การแก้ไขปัญหา ; การเข้าใจ ความสัมพันธ์

การเรียนรู้ทางอ้อม (Modeling/ Vicarious Learning)

การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของผู้บริโภค การให้รางวัล การซ้ำ การสร้างบทสรุปทั่วไปและการแยก ความแตกต่างของสิ่งกระตุ้น ประสบการณ์ : ตัวอย่างแจกฟรี เครื่องหมายและสัญลักษณ์ : โลโก้