สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
ดิน(Soil).
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
~ ชาเขียว ~.
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
BIOL OGY.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
whey เวย์ : casein เคซีน
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
อาหารเพื่อสุขภาพ สำหรับบุคคลที่มีทวารเทียม
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
กำมะถัน (Sulfur).
เรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผู้จัดทำ นางสาว ดารุณี พรนิคม เลขที่ 13 นางสาว ธนัชพร ภู่มาลา เลขที่ 14 นางสาว นุสรา ไชยโยธา เลขที่ 16 นางสาว.
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ บทที่ 2 สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ

สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการโดยทั่วไปประกอบไปด้วย - แหล่งคาร์บอน - แหล่งไนโตรเจน - แหล่งแร่ธาตุ - แหล่งวิตามิน - และอื่นๆ เช่น growth factor

แหล่งคาร์บอน (carbon source) คาร์บอนเป็นธาตุที่สำคัญในการสร้างพลังงานและเซลล์กระบวนการผลิตแอลกอฮอล์โดยทั่วไปนิยมใช้คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่มีมากและนิยมใช้ได้แก่ 1. น้ำตาล น้ำตาลที่ใช้ส่วนใหญ่มักใช้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและน้ำตาลโมเลกุลคู่ เช่น glucose fructose sucrose maltose

2. แป้ง แป้งที่ใช้อาจเป็น แป้งข้าวโพด แป้งจากธัญพืชชนิดต่างๆ แป้งมันสำปะหลัง หรืออาจใช้เมล็ดข้าวหรือธัญพืชอื่นที่บดเป็นชิ้นเล็กๆ การใช้วัตถุดิบจำพวกแป้งจำเป็นต้องมีการย่อยแป้งไปเป็นน้ำตาล

แหล่งไนโตรเจน (Nitrogen source) จุลินทรีย์ มีไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบประมาณร้อยละ 8-10 ของน้ำหนักแห้งของเซลล์ แหล่งของไนโตรเจนได้แก่ - แหล่งอนินทรีย์ไนโตรเจน - แหล่งอินทรีย์ไนโตรเจน

แหล่งแร่ธาตุ (Elements source) แร่ธาตุที่มีความสำคัญต่อการเจริญและการหมักของยีสต์แบ่งเป็น 3 พวกได้แก่ 1. Macroelements ได้แก่ K, Mg, Ca, Zn, Fe, Mn, Cl 2. Microelements ได้แก่ Co, B, Cd, Cr, Cu, I, Mo, Mi, Va 3. Inhibitors ได้แก่ Ag, As, Bd, Hg, Li, Ni ถ้ามีในระดับความเข้มข้นสูงกว่า 10-100 mM จะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตและการหมักของยีสต์

แหล่งวิตามิน (Vitamin source) วิตามินเป็นตัวควบคุมเมตาบลิซึมของยีสต์ โดยจะควบคุมเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพราะวิตามินเป็น co-emzyme หรือสารเริ่มต้น (precursor) ที่ทำให้เอนไซม์ทำงานได้เต็มที่วิตามินที่ยีสต์ต้องการส่วนใหญ่คือ ไบโอติน , แพนโธธีนิคแอซิค

แหล่งน้ำ (water source) โดยทั่วไปการเตรียมอาหารเพื่อเลี้ยงเชื้อในการผลิตแอลกอฮอล์จะนิยมใช้น้ำประปา หรือถ้าไม่มีน้ำประปาหรือมีไม่เพียงพอ ก็อาจใช้น้ำจากแหล่งอื่นแทนได้ อย่างไรก็ตามจะต้องมีการควบคุมคุณภาพน้ำให้สม่ำเสมอ เนื่องจากการใช้น้ำที่มีคุณภาพไม่สม่ำเสมออาจทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอด้วย

แหล่งออกซิเจน (oxygen source) ออกซิเจน เป็นธาตุชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการเจริญของ จุลินทรีย์โดยเฉพาะพวกที่ต้องการอากาศ (aerobe) ปริมาณออกซิเจนใน อาหารจะเป็นตัวควบคุมอัตราการเจริญและการผลิตสารเมแทบไลท์การให้ ออกซิเจนแก่จุลินทรีย์นิยมให้โดยการอัดอากาศเข้าไปในอาหารเลี้ยงเชื้อ หรืออาจให้ในรูปแก๊สออกซิเจนบริสุทธิ์ก็ได้