BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
นำเสนอ เรื่อง x.25.
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
Script Programming& Internet Programming
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
Chapter 2 Switching.
Switching Network Circuit Switching/Packet Switching
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
Asynchronous Transfer Mode
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Layer Protocal:
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
TCP/IP.
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
CSC431 Computer Network System
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
05/04/60 Networking Devices 4 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
ISP ในประเทศไทย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
เครือข่ายแบบผสม จัดทำโดย ด. ช. ธีรภัทร ระงับทุกข์ ด. ช. ผดุงศักดิ์ อิ่มคุ้ม ด. ช. พีระยุทธ พอกพูล นำเสนอ อ. พรทิพย์ ตองติดรัมย์
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed ฮาร์ดแวร์ของระบบ LAN : LAN.
แบบจำลอง OSI Model.
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area Network เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Contents เกี่ยวกับระบบ WAN และ WAN Topology Datalink Protocol ของ WAN Function และ Data link layer Function ของ Network Layer การแยกเส้นทางเดินภายในเครือข่าย (Routing) Packet distribution networks ความแตกต่างระหว่าง Lan กับ Wan

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ WAN Link หมายถึง การต่อเข้าหากันโดยตรงของ node 2 แห่งในเครือข่าย End-to-End Routing คือการเลือกทางเดินของ ข่าวสารที่ต้องผ่าน node อื่น ๆ เพื่อไปให้ถึง node ปลายทาง Path คือ Link ต่างๆ ที่ message นั้นเดินทางผ่าน ไป Hop นับจากต้นกำเนิด message ไปจนถึง ปลายทาง หรือ จำนวน link ที่ข่าวสารเดิน ทางผ่าน Node B Node A Node D Node C Path A ถึง C คือ A - B - C = 2 Hop A - D - C = 2 Hop

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ WAN Store-and-forward เป็นเทคนิคอย่างหนึ่งที่ เครือข่ายในไปใช้ในการส่ง data ผ่านไปตาม path ซึ่ง node ที่อยู่ระหว่างทางจะทำการเก็บ (store) ข่าวสารนั้นไว้ก่อน แล้วส่งคำตอบรับไปยัง ผู้ส่ง จากนั้นค่อยส่งข่าวสารนั้นออกไป (forward) ยัง node ถัดไป Session คือ การติดต่อสื่อสาร ระหว่าง user 2 ฝ่ายที่อยู่ในเครือข่าย โดยต้องมีการเริ่มต้น การ คงไว้ และการสิ้นสุดของการติดต่อย่างชัดเจน Packet Switching คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการส่ง message ออกไปลักษณะเป็น packet

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK โทโปโลยีของเครือข่าย WAN แบ่งตามรูปแบบได้ 3 รูปแบบคือ –Hierachical : แบบลำดับชั้น –Interconnected : แบบเชื่อมโยงถึงกันหมด –Combination : แบบผสมสองอย่างแรก

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Hierarchical Network เรียกอีกอย่างว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ ซึ่ง จะมีราก (root) หนึ่งราก และมี node ย่อย ๆ แตก แขนงออกมาเป็นทอด ๆ แบบลำดับชั้น โครงสร้างแบบนี้มักพบ ได้ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ขององค์กรขนาดใหญ่ โดยมีสำนักงานใหญ่เป็น Root ส่วนสาขาย่อยก็ แตกแขนงออกมา

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Interconnected (Plex) Netowrk มีความยืดหยุ่น ในการ ทำงานมาก มี path ที่สามารถใช้ได้ มากมาย หากมี Link ชำรุดก็ สามารถหาแทนกันได้ ไม่เหมาะกับระบบที่มี node จำนวนมาก ใช้ link เปลือง

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Combination Networks การนำโทโปโลยี 2 แบบที่แล้วมาผสมกัน มักประยุกต์ใช้งานในระดับ backbone network

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Data Link Control Protocols Bit Synchronous Protocols มีอยู่ด้วยกันหลาย ตัวคือ –Synchronous Data Link Control(SDLC) พัฒนาโดย IBM –Advanced Data Communication Control Procedure(ADCCP) –High-level Data Link Control(HDLC) –Link Access Procedure-Balanced(LAPB) สำหรับ X.25

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK HDLC ส่งข่าวสารในลักษณะ Frame –Flag คือส่วนนำและส่วนปิดท้าย Frame –Address ที่อยู่ –Control รหัสควบคุม แตกย่อยได้ Number sent(Ns) Number received(Nr) –Data ส่วนข้อมูล ( อาจมีไม่ก็ได้ ) –Frame Check Sequence ตรวจ Error –HDLC สามารถส่งต่อเนื่องได้ 8 ครั้งโดยไม่ต้องมี Acknowledged Flag AddressDataControl Frame check sequence Flag

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK หน้าที่ของ Network Layer บน WAN ทำงานเหมือนกับ network layer บนระบบ LAN เกี่ยวข้องกับการหาเส้นทางตั้งแต่ต้นทางไป ปลายทาง – เส้นทางทั้งหมดในเครือข่าย – เลือกเส้นทางที่ดีที่สุด ควบคุมการทำงานของเครือข่าย รับส่งข้อมูล สถานภาพ ควบคุมความแออัดจากการแย่งใช้ทรัพยากร (congestion control) ลดความล่าช้าในการส่ง ข่าวสาร

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK การจัดเส้นทางเดินให้ข่าวสาร ใช้ Algorithms แบบต่างๆ เพื่อหาเส้นทางไป การเลือกเส้นทาง ถูกตัดสินโดย Node ที่จะส่ง หรือรวมกันตัดสินใจ การเลือกเส้นทาง Routing –Static –Weighted –Adaptive –Broadcast อาศัย Routing table ซึ่งเป็นตารางข้อมูล Link ต่างๆในระบบ

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Static Routing กำหนดแน่ชัดลงไปว่าแต่ละคู่ node ใด ๆ จะใช้ link ใด หาก link down จะไม่มีตัวทดแทน ทำงานได้รวดเร็วเนื่องจากไม่ต้องมีการ ประมวลผลใด ๆ เพื่อหาเส้นทาง ส่วนมากถูกใช้งานในลักษณะ link สำรอง

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Weighted Routing เลือกโดยการชั่งน้ำหนัก น้ำหนักคือ ปริมาณการใช้ซึ่งปกติคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักจากการใช้งานจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพการใช้ A --> X เลือก 20% 50%20% 30% A X CBD

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Adaptive Routing บางครั้งเรียก Dynamic routing พิจารณาเลือกเส้นทางจาก – จำนวน hops –Speed ของ Link – ประเภทของ Link – ความแออัดของ Link ข้อมูลนี้จะถูกปรับปรุงตลอดเวลา จากการเก็บ สถิติขณะทำงาน การพิจารณาจะดูปัจจัยหลายอย่าง เพื่อให้ความ คุ้มค่าที่สุด เส้นทางที่เลือกอาจไม่ใช่เส้นทางที่มีความเร็วต่ำ จำนวน Hop มาก แต่เป็นเส้นทางที่ดีที่สุดในขนะ นั้น

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Broadcast Routing กระจายข่าวสารออกไปใน Network การ Broadcast เป็นทอด ๆ อาจทำให้เกิด Frame ปริมาณมหาศาล

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Frame Relay เป็นทายาทแบบ Digital ของ X.25 ซึ่งเคยเป็น Analog โปรโตคอล Frame Relay ทำงานที่ Data link layer X.25 ทำงานที่ Network Layer Frame Relay มีความสามารถควบคุมความแออัด ลดปัญหาผู้ใช้ครอบครอง link แต่เพียงผู้เดียว

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK End.

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Quiz Link กับ Path ต่างกันอย่างไร จงบอก Wan Topology มา 2 ชนิด Adaptive Routing เป็นอย่างไร interconnected network มีจุดเด่นอย่างไร end-to-end routing คืออะไร