ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การดำเนินการของลำดับ
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Points, Lines and Planes
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Introduction to Digital System
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง และ ระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ขนานทั้งสองเส้น

ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ถ้า P1(x1 , y1) , P2(x2 , y2) เป็นจุดใดๆบนระนาบ กรณีที่ 1 P1P2 ขนานกับแกน X (y1 = y2 ) ดังรูป จะได้ P1P2 = | x1 - x 2| = |x2 - x1 | P1(-2,1) P2(1,1) P1P2 = | -2 -1 | = |1 - (-2) | = 3 หน่วย

ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ถ้า P1(x1 , y1) , P2(x2 , y2) เป็นจุดใดๆบนระนาบ กรณีที่ 2 P1P2 ขนานกับแกน Y (x1 = x2 ) ดังรูป จะได้ P1P2 = | y1 - y 2| = |y2 - y1 | P1(1,3) P1P2 = | 3 -1 | = |1 - 3 | P2(1,1) = 2 หน่วย

การหาระยะห่างระหว่างจุดสองจุด กรณีที่ 3 P1P2 ไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y P1(x1,y1) โดยทบ. ปีทาโกรัส จะได้ (P1P2) 2 (x2- x1)2 + (y1- y2)2 = y1- y2 P1P2 = (x2- x1)2 + (y1- y2)2 P2(x2,y2) x2- x1 Q O

ดังรูป P1(3,4) P2(-1,1) จะได้ P1P2 = = 5 หน่วย 4 -1 = 3 หน่วย 4 -1 = 3 หน่วย P2(-1,1) 3 -(-1) = 4 หน่วย จะได้ P1P2 = = 5 หน่วย

ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ทฤษฎีบท ถ้า P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) เป็นจุดใดๆบนระนาบแล้ว P1P2 = ตัวอย่าง จงหาระยะห่างระหว่างจุด P1(3,4) และ P2(-1,1) วิธีทำ P1P2 = = = 5 หน่วย =

จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ทฤษฎีบท ถ้า เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) , ตัวอย่าง กำหนด A(-3,6) และ B (7,-4) จงหาจุดกึ่งกลาง AB วิธีทำ ดังนั้น จุดกึ่งกลาง AB คือ (2,1)

พิจารณาค่าความชันที่เป็นลบ จากรูปเพื่อความเข้าใจ จากความชัน (m) = R (-2,3) = 3 - 1 -2 -2 Q P (2,1) = = จะเห็นว่า ความชัน เท่ากับเป็นลบ ความยาวของด้าน RQ หารด้วย ความยาวของด้าน PQ นั่นเอง สรุป ความชันเป็นบวก เมื่อเส้นตรงทำมุมแหลมกับแกน X ความชันเป็นลบ เมื่อเส้นตรงทำมุมป้านกับแกน X

ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (2,-1) และ (-3,4) วิธีทำ จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (2,-1) และ (-3,4) วิธีทำ จากความชัน จะได้ความชัน = = - 1 ดังนั้นเส้นตรงมีความชันเท่ากับ -1

ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่ทำให้ เส้นตรงที่ผ่านจุด (4 , 1) และ ( x , 3) มีความชันเท่ากับ 2 วิธีทำ จาก แทนค่า จะได้ 2 = 3 - 1 x - 4 2x - 8 = 2 x = 5

เส้นขนาน ทฤษฎีบท เส้นตรงสองเส้นที่ไม่ขนานกับแกน Y จะขนานกันก็ต่อเมื่อ ความชันของเส้นตรงทั้งสองเท่ากัน

ตัวอย่าง ถ้าเส้นตรงที่ผ่านจุด (k,7) และ (-3,-2) ขนานกับเส้นตรง ที่ผ่านจุด (3,2) และ (1,-4) จงหาค่า k วิธีทำ จะได้ความชันเท่ากันคือ = 18 6k + 18 คูณไขว้ จะได้ = = 6k k ดังนั้น =

ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด ทฤษฎีบท ระยะห่างระหว่างเส้นตรง Ax + By + C = 0 กับจุด (x1,y1) d =

จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรง 3x + 4y = 10 กับจุด (-2,-1) ตัวอย่าง จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรง 3x + 4y = 10 กับจุด (-2,-1) วิธีทำ สูตรระยะห่าง = A = 3 B = 4 C = -10 x1 = -2 y1 = -1 แทนค่า จะได้ = = = 4 ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด = 4 หน่วย

ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง ทฤษฎีบท ระยะห่างระหว่างเส้นตรง Ax + By + C1 = 0 กับเส้นตรง Ax + By + C2 = 0 เท่ากับ

จงหาระยะห่างระหว่างเส้นคู่ขนาน 3x + 4y - 4 = 0 กับ 3x + 4y + 11 = 0 ตัวอย่าง จงหาระยะห่างระหว่างเส้นคู่ขนาน 3x + 4y - 4 = 0 กับ 3x + 4y + 11 = 0 วิธีทำ สูตร ระยะห่าง = แทนค่า จะได้ = = = 3 ดังนั้นระยะห่างเส้นตรงทั้งสอง = 3 หน่วย

สมาชิกในกลุ่ม นาย กฤตเมธ แซ่หลี เลขที่ 1 นาย พิภพ แซ่โอ๋ เลขที่ 6 นาย กฤตเมธ แซ่หลี เลขที่ 1 นาย พิภพ แซ่โอ๋ เลขที่ 6 นาย รุ่งโรจน์ ตู้ประกาย เลขที่ 7 นาย อมรเทพ ทองล่อง เลขที่ 12 นางสาว ณัฐพร คล้ายทอง เลขที่ 18 นางสาว ธิดา กังวานสุระ เลขที่ 19