เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
การตอบสนองของพืช umaporn.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
Leaf Monocots Dicots.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การเจริญเติบโตของพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Physiology of Crop Production
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
Cell Specialization.
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
ความหลากหลายของพืช.
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
การปลูกพืชกลับหัว.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
การป้องกันกำจัดหอยทาก
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
การออกแบบการเรียนรู้
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
Kingdom Plantae.
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม เรื่อง พืช จัดทำโดย ด.ช.วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม.1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

สารบัญ การเจริญเติบโตของพืช พืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ความสำคัญของพืช ประโยชน์ที่ได้จากพืช ข้อเสียของพืช การปลูกพืชให้มีลักษณะสวยงาม การรักษาพืช

การเจริญเติบโตของพืช   การเจริญเติบโตของพืชเริ่มมาจากเมล็ด  ซึ่งประกอบด้วย เปลือกหุ้มเมล็ด เอ็มบริโอ และแหล่งเก็บอาหาร ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเรียกว่าเอนโดเสปริม์ สำหรับ ในพืชใบเลี้ยงคู่เรียกว่า ใบเลี้ยง    ต้นอ่อน (เอ็มบริโอ)ของไม้ดอกบางชนิดสร้าง ใบเลี้ยง 2 ใบ ขณะเจริญ  เราเรียกพืชพวกนี้ว่าพืช ใบเลี้ยงคู่ เช่นถั่วลิสง      ส่วนพืชที่มีใบเลี้ยงเพียง ใบเดียวเรียกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว  เช่น      ต้นหญ้า ต้นหอม ต้นพลับพลึง การเจริญเติบโตของพืชเป็นผลจากการเพิ่มจำนวนเซลล์     และการขยาย ขนาดของเซลล์ ควบคู่กันไปขณะที่เซลล์เหล่านั้นเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะมีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่างต่อไปอีกด้วย เช่น การ เปลี่ยนแปลงเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงนำและอาหาร เป็นต้น

พืชใบเลี้ยงคู่ ลักษณะทั่วไปของพืชใบเลี้ยงคู่ 1. มีประมาณ 225,000 species ซึ่งมากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2. มีใบเลี้ยง 2 ใบ 3. ไม่มีเยื่อหุ้มยอดอ่อน ( Coleoptile ) และเยื่อหุ้มรากอ่อน ( Coleorhiza ) 4. เส้นใบเป็นร่างแห ( Recticular venation) 5. ส่วนประกอบของดอก เช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก มีจำนวน 4-5 หรือทวีคูณของ 4-5 6. ส่วนมากมีแคมเบียม มีการเจริญด้านข้าง 7. การงอกของเมล็ดใบเลี้ยงโผล่เหนือดิน ( Epigeal ) 8. ท่อลำเลียง ( Vascular bundle ) เรียงเป็นระเบียบในแนวรัศมีเดียวกัน 9. ส่วนมากมักสะสมอาหารไว้ที่ใบเลี้ยง ( Cotyledon )

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลักษณะทั่วไปของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 1. มีประมาณ 75,000 species ซึ่งน้อยกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ 2. มีใบเลี้ยง 1 ใบ 3. มีเยื่อหุ้มยอดอ่อน ( Coleoptile ) และเยื่อหุ้มรากอ่อน ( Coleorhiza ) 4. เส้นใบขนาน ( Parallel venation ) 5. ส่วนประกอบของดอก เช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก มีจำนวน 3 หรือทวีคูณของ 3 6. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม ไม่มีการเจริญด้านข้าง 7. การงอกของเมล็ดใบเลี้ยงจมอยู่ใต้ดิน ( Hypogeal ) 8. ท่อลำเลียง ( Vascular bundle ) กระจาย 9. ส่วนมากมักสะสมอาหารไว้ที่ Endosperm ของเมล็ด