กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Advertisements

สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
โครงการปัจฉิมนิเทศสมาชิก กบข. และอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.. เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
1.
รู้จัก กบข..
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
กองทุนประกันสังคมคือ...
สิทธิการลาในประเภทตาง ๆ
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
The Comptroller General’s Department
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ปีงบประมาณ 2556 ออกจากราชการ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (รุ่นสุดท้ายตามมาตรการปรับปรุง อัตรากำลังของส่วนราชการ)
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ในส่วนของกรมบัญชีกลาง
Separation : Retirement
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
อย่าลืมปิดเสียงเครื่องมือสื่อสาร นะจ๊ะ
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
สวัสดิการของผู้ปฏิบัติงาน อ.อ.ป.
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
โครงการประชุมชี้แจง “เจ้าหน้าที่ส่วนราชการเพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานตาม ร่าง พ.ร.บ. กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ.
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
การลาประเภทต่างๆ ของข้าราชการ และสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ณ ห้องประชุมตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2557
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
Payroll.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ สิทธิประโยชน์ ของข้าราชการ โดย กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการขอรับและจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2540

บำเหน็จ บำนาญ คืออะไร

บำเหน็จ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบ ที่ได้รับราชการมาโดยรัฐจ่ายครั้งเดียว บำนาญ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบ ที่ได้รับราชการมาโดยรัฐจ่ายเป็นรายเดือน

เหมือน หรือ ต่างกันอย่างไร บำเหน็จ และบำนาญ เหมือน หรือ ต่างกันอย่างไร

ถ้าเลือกรับบำเหน็จ จะไม่มีสิทธิได้รับอะไรจากทางราชการอีก

ถ้าเลือกรับบำนาญ ความผูกพันกับ ทางราชการต่อเนื่องจนกว่าจะถึงแก่ ความตาย โดยมีสิทธิเบิกเงินสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาลของตนเองและบุคคล ในครอบครัว การศึกษาของบุตร นอกจากนี้ สามารถใช้สิทธิขอรับ บำเหน็จดำรงชีพ

สิทธิการได้รับบำเหน็จบำนาญ (พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ กรกรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. (พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) กรณีเป็นสมาชิก กบข. (พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการพ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) มาตรา 9 กำหนดว่า ข้าราชการมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญปกติด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ มาตรา 49 กำหนดว่า สมาชิกมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญปกติด้วยเหตุอย่างใด อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้  เหตุทดแทน  เหตุทุพพลภาพ  เหตุสูงอายุ  เหตุรับราชการนาน  เหตุสูงอายุ

สิทธิการได้รับบำเหน็จบำนาญ กรณีเป็นสมาชิก กบข. (พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) เหตุออกจากราชการ เหตุแห่งการรับบำเหน็จบำนาญ ตามที่กฎหมายใช้เรียก เวลาราชการ (อายุราชการ) สิทธิที่จะได้รับ บำเหน็จบำนาญ เงินที่ได้รับจาก กบข. 1. เกษียณอายุตามกฎหมาย (วันสิ้นปีงบประมาณที่อายุตัว ครบ 60 ปี) สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 2. ขอลาออก (เอง) หรือถูกปลดออก 2.1 อายุตัว ไม่ถึง 50 ปี พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.47 10 ปี ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯม.48 25 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 2.2 อายุตัว 50 ปี ขึ้นไป สูงอายุ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป 3.ออกเพราะ * ยุบเลิกตำแหน่ง * มีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด ทดแทน 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์ 4.ออกเพราะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และแพทย์ที่ทางราชการรับรอง ได้ตรวจ และแสดงความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะรับราชการ ในตำแหน่งหน้าที่ต่อไปได้ ทุพพลภาพ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สะสม+สมทบ+ผลประโยชน์ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) ประเดิม(ถ้ามี)+ชดเชย+สะสม +สมทบ+ผลประโยชน์

สิทธิการได้รับบำเหน็จบำนาญ กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. (พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) เหตุออกจากราชการ เวลาราชการ (อายุราชการ) สิทธิที่จะได้รับ บำเหน็จบำนาญ เหตุแห่งการรับบำเหน็จบำนาญ ตามที่กฎหมายใช้เรียก 1. เกษียณอายุตามกฎหมาย (วันสิ้นปีงบประมาณที่อายุตัว ครบ 60 ปี) 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สูงอายุ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 2. ขอลาออก (เอง) หรือถูกปลดออก 2.1 อายุตัว ไม่ถึง 50 ปี 10 ปี ขึ้นไป บำเหน็จ พรบ.บำเหน็จบำนาญ มาตรา 17 25 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) รับราชการนาน 2.2 อายุตัว 50 ปี ขึ้นไป 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ สูงอายุ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 3.ออกเพราะ * ยุบเลิกตำแหน่ง * มีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ ทดแทน 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้) 4.ออกเพราะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และแพทย์ที่ทางราชการรับรอง ได้ตรวจ และแสดงความเห็นว่า ไม่สามารถที่จะรับราชการ ในตำแหน่งหน้าที่ต่อไปได้ 1 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป บำเหน็จ ทุพพลภาพ 10 ปี ขึ้นไป บำนาญ (เลือกรับบำเหน็จได้)

กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. เวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ หมายถึง เวลาตั้งแต่ วันแรกที่เริ่มปฏิบัติราชการ โดยได้รับเงินเดือน จนถึงวันสุดท้ายที่ได้รับเงินเดือน โดยหักเวลาราชการที่มิได้รับเงินเดือนออก กรณีที่ประจำปฏิบัติงานในท้องที่ที่มีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ ให้รวม เวลาระหว่างนั้นด้วย และหักด้วยเวลาที่มิได้อยู่ปฏิบัติงานระหว่างนั้น เช่น ลาพักผ่อน ลากิจ ลาป่วย เป็นต้น การนับเวลาราชการ กรณีเป็นสมาชิก กบข. กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. การนับเวลาราชการเพื่อให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี ต้องนับได้ 1 ปีบริบูรณ์ก่อน (ไม่ปัดเศษ) ถ้าไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ การนับเวลาราชการเพื่อให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี ต้องนับได้ 1 ปีบริบูรณ์ก่อน (ไม่ปัดเศษ) ถ้าไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ การนับเวลาราชการเพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี รวมทั้งเศษของปีที่เป็นเดือนและวันด้วย (เวลาปี+เศษของเดือน+เศษของวัน) - ให้นับ 12 เดือน เป็น 1 ปี (เศษของเดือน หารด้วย 12) - ให้นับ 30 วัน เป็น 1 เดือน (เศษของวัน หารด้วย 360) ตัวอย่าง..นับเวลาราชการแล้วได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน = 30 + (10 ÷ 12) + (29 ÷ 360) = 30 + 0.83 + 0.08 เวลาราชการจะเท่ากับ 30.91 ปี การนับเวลาราชการเพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญ - ให้นับจำนวนปี เศษของปีถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี โดยนับ 30 วัน เป็น 1 เดือน และ 12 เดือน เป็น 1 ปี ตัวอย่างที่ 1 - นับเวลาราชการได้ 11 เดือน 20 วัน ไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ เพราะเวลาราชการไม่ถึง 1 ปีบริบูรณ์ ตัวอย่างที่ 2 - นับเวลาราชการได้ 30 ปี 5 เดือน 29 วัน กรณีนี้ 29 วัน ปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 30 วัน และ 5 เดือนปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 6 เดือน เวลาราชการจึงนับให้เพียง 30 ปี ตัวอย่างที่ 3 - นับเวลาราชการได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน กรณีนี้ 29 วัน ปัดทิ้ง เพราะไม่ถึง 30 วัน 10 เดือนปัดเป็น 1 ปี เวลาราชการจึงนับรวมเป็น 31 ปี

วิธีการคำนวณบำเหน็จบำนาญ กรกรณีผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ เป็นสมาชิก กบข. กรณีผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ มิได้เป็นสมาชิก กบข. บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 บำนาญปกติที่คำนวณได้ต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ เงินเดือนเดือนสุดท้าย หมายถึง เงินเดือนที่ได้รับจากเงิน งบประมาณเดือนสุดท้ายที่ออกจากราชการ รวมเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เช่น เงินเพิ่มสำหรับการสู้รบ (พ.ส.ร.) ฯลฯ

ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จบำนาญ กรณีเป็นสมาชิก กบข. วิธีคำนวณบำเหน็จ วิธีคำนวณบำนาญ สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ (รวมเศษของเดือนและวันด้วย) ตัวอย่าง- ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30.91 ปี บำเหน็จสมาชิก กบข. = 36,020 X 30.91 ปี = 1,113,378.20 บาท สูตร เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 50 บำนาญที่ได้รับต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ตัวอย่างที่ 1 - เงินเดือนเดือนสุดท้าย 39,630 บาท - เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย เท่ากับ 34,476.83 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ 30.91 ปี บำนาญ กบข. = 34,476.83 X 30.91 ผลที่คำนวณได้ 21,313.58 บาท 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 34,476.83 X 70 % = 24,133.78 บาท บำนาญที่ได้รับ = 21,313.58 บาท ตัวอย่างที่ 2 - เวลาราชการปกติ +เวลาราชการทวีคูณ 37.91 ปี บำนาญ กบข. = 34,476.83 X 37.91 50 ผลที่คำนวณได้ 26,140.33 บาท 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 34,476.83 X 70 % = 24,133.78 บาท บำนาญที่ได้รับ = 24,133.78 บาท

ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จบำนาญ กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. วิธีคำนวณบำเหน็จ วิธีคำนวณบำนาญ สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ (รวมเศษของเดือนและวันด้วย) ตัวอย่างที่ 1 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย อัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 5 เดือน 29 วัน บำเหน็จปกติ = 36,020 X 30 ปี = 1,080,600 บาท ตัวอย่างที่ 2 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน บำเหน็จปกติ = 36,020 X 31 ปี = 1,116,620 บาท หมายเหตุ เศษของเดือน ถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี ถ้าไม่ถึง 6 เดือนปัดทิ้ง สูตร เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 50 ตัวอย่างที่ 1 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 30 ปี 10 เดือน 29 วัน บำนาญปกติ = 36,020 X 31 = 22,332.40 บาท หมายเหตุ เศษของปีถ้าถึง 6 เดือน ปัดเป็น 1 ปี ตัวอย่างที่ 2 - ได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้ายอัตรา 36,020 บาท - เวลาราชการปกติ+เวลาราชการทวีคูณ นับได้ 52 ปี คำนวณได้ = 36,020 X 52 = 37,460.80 บาท 50 บำนาญปกติ = 36,020 บาท หมายเหตุ บำนาญปกติที่ได้รับต้องไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย

บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ คือ การนำบำเหน็จตกทอดจำนวน 15 เท่า ของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกินจำนวน 200,000 บาท มาจ่ายให้กับผู้รับบำนาญในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของผู้รับบำนาญในการดำรงชีพ โดยได้รับยกเว้นภาษี และเมื่ออายุตัวของผู้รับบำนาญครบ 65 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ให้มีสิทธิขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้ในส่วนที่เกินจากการขอรับไปแล้วครั้งแรก แต่ไม่เกิน 400,000 บาท บำเหน็จตกทอด คือ เงินที่รัฐจ่ายให้แก่ทายาทของข้าราชการ หรือผู้รับบำนาญที่ถึงแก่ความตาย ซึ่งจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว บำเหน็จตกทอด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ข้าราชการประจำถึงแก่ความตาย 1.1 เหตุปกติ เป็นโรค หรือเจ็บป่วย 1.2 เหตุผิดธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือถูกกระทำถึงแก่ความตายซึ่งไม่ได้เกิดจากการประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง การคำนวณ เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 2. ผู้รับบำนาญถึงแก่ความตาย ให้จ่าย 30 เท่า ของอัตราบำนาญที่ผู้ตายมีสิทธิได้รับ การคำนวณ บำนาญปกติ X 30 – บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว หรือ บำนาญปกติ+บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ X 30 - บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว

ขอบคุณค่ะ