บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Introductory to Numerical Analysis การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP2-1 2 Discrete-time Signals and Systems สัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ผศ.ดร.
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
3) หลักการทำงาน และการออกแบบ
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ภาษาคอมพิวเตอร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ENCODER.
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
ฟังก์ชั่น digital ทำหน้าที่อ่านค่าลอจิกจากเซนเซอร์
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ดิจิตอลเทคนิค 2 (3) (Digital Techniques)
การออกแบบวงจรดิจิตอล 2 (3)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Introduction to Analog to Digital Converters
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
ADSL คืออะไร.
การหาดิวตี้ ไซเคิล (Duty cycle)
Gate & Circuits.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ไอซีดิจิตอลและการใช้งาน
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
Digital System Engineering
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
Introduction to Analog to Digital Converters
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ อาจารย์นที ยงยุทธ

ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก ระบบแอนะล็อก (analog) เป็นระบบที่ต่อเนื่อง (continuous system) ระบบดิจิตอล (digital) เป็นระบบไม่ต่อเนื่อง บางครั้งเรียกว่าดีสครีต (discrete) จะถูกแทน ด้วยระบบเลขฐานสอง (binary)

ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก ระบบทางธรรมชาติทุกชนิดเป็นปริมาณแอนะล็อก Analog to Digital Converter (ADC) Digital to Analog Converter (DAC)

ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล แรงดันที่แทนลอจิก “0” และลอจิก “1” เรียกว่า logic level บิตที่มีค่าเป็น “1” เรียกว่า HIGH บิตที่มีค่าเป็น “0” เรียกว่า LOW VHmax) HIGH ลอจิก “1” VH(min) ไม่รับรู้ VL(max) LOW ลอจิก “0” VL(min) แสดงค่าระดับแรงดันลอจิก

ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล ปริมาณทางดิจิตอลที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาจะอธิบาย ด้วยไดอะแกรมเวลา (timing diagram) บางครั้งเรียกว่า คลื่นดิจิตอล (digital waveform) จุดเปลี่ยนจาก Low เป็น High HIGH Low

ลักษณะของสัญญาณนาฬิกา สัญญาณนาฬิกา (periodic) ไม่เป็นคาบเวลาแน่นอน (nonperiodic) สัญญาณพัลส์

คุณสมบัติของสัญญาณ ความถี่ (frequency) ดิวตี้ไซเกิล (duty cycle)

ประเภทของวงจรดิจิตอล วงจรคอมไบเนชัน (Combination) หรือวงจรเชิงจัดหมู่ วงจรซีเควนเชียล (Sequental)หรือวงจรเชิงลำดับ

อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล เกตพื้นฐานได้แก่ OR, AND และ NOT จะถูกสร้างอยู่ในรูปของไอซี (Integrated circuit)

อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Comparison เป็นวงจรที่นำข้อมูลดิจิตอลสองค่ามาเปรียบเทียบกัน โดยวงจรนี้เรียกว่าคอมพาราเตอร์ (comparator) ฟังก์ชัน Arithmetic แบ่งออกเป็น - Addition - Subtraction - Multiplication - Division

อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Encoding ฟังก์ชัน Decoding ฟังก์ชัน Data Selection - มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) - ดีมัลติเพล็กเซอร์ (Demultiplexer)

อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Storage - ฟลิปฟลอป - รีจีสเตอร์ ฟังก์ชัน Counting