บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ อาจารย์นที ยงยุทธ
ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก ระบบแอนะล็อก (analog) เป็นระบบที่ต่อเนื่อง (continuous system) ระบบดิจิตอล (digital) เป็นระบบไม่ต่อเนื่อง บางครั้งเรียกว่าดีสครีต (discrete) จะถูกแทน ด้วยระบบเลขฐานสอง (binary)
ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก ระบบทางธรรมชาติทุกชนิดเป็นปริมาณแอนะล็อก Analog to Digital Converter (ADC) Digital to Analog Converter (DAC)
ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล แรงดันที่แทนลอจิก “0” และลอจิก “1” เรียกว่า logic level บิตที่มีค่าเป็น “1” เรียกว่า HIGH บิตที่มีค่าเป็น “0” เรียกว่า LOW VHmax) HIGH ลอจิก “1” VH(min) ไม่รับรู้ VL(max) LOW ลอจิก “0” VL(min) แสดงค่าระดับแรงดันลอจิก
ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล ปริมาณทางดิจิตอลที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาจะอธิบาย ด้วยไดอะแกรมเวลา (timing diagram) บางครั้งเรียกว่า คลื่นดิจิตอล (digital waveform) จุดเปลี่ยนจาก Low เป็น High HIGH Low
ลักษณะของสัญญาณนาฬิกา สัญญาณนาฬิกา (periodic) ไม่เป็นคาบเวลาแน่นอน (nonperiodic) สัญญาณพัลส์
คุณสมบัติของสัญญาณ ความถี่ (frequency) ดิวตี้ไซเกิล (duty cycle)
ประเภทของวงจรดิจิตอล วงจรคอมไบเนชัน (Combination) หรือวงจรเชิงจัดหมู่ วงจรซีเควนเชียล (Sequental)หรือวงจรเชิงลำดับ
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล เกตพื้นฐานได้แก่ OR, AND และ NOT จะถูกสร้างอยู่ในรูปของไอซี (Integrated circuit)
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Comparison เป็นวงจรที่นำข้อมูลดิจิตอลสองค่ามาเปรียบเทียบกัน โดยวงจรนี้เรียกว่าคอมพาราเตอร์ (comparator) ฟังก์ชัน Arithmetic แบ่งออกเป็น - Addition - Subtraction - Multiplication - Division
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Encoding ฟังก์ชัน Decoding ฟังก์ชัน Data Selection - มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) - ดีมัลติเพล็กเซอร์ (Demultiplexer)
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล ฟังก์ชัน Storage - ฟลิปฟลอป - รีจีสเตอร์ ฟังก์ชัน Counting