การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
Participation : Road to Success
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร พัฒนาจากสื่อประกอบการบรรยายของทีมคณะวิจัยโครงการ Ed-KM ในการพัฒนาวิทยากรแกนนำนักจัดการความรู้ สพฐ.

วัตถุประสงค์ ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทำความรู้จัก “KM” ผ่านการปฏิบัติจริง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ปฏิบัติระหว่างกัน เพื่อเตรียมสร้างแกนนำด้าน KM ขององค์กร เพื่อเตรียมการให้แกนนำไปขยายผล สร้างความเข้าใจและทักษะใน การดำเนินการ KM ภายในองค์กร เกิดชุมชน KM ทั้ง F2F และ B2B

วิธีการ การประชุมที่เน้นการปฏิบัติ ใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสำเร็จในการพัฒนา การเรียนรู้และ งานที่รับผิดชอบ

ข้อตกลงเบื้องต้น บรรยากาศที่ดี เป็นมิตร และชื่นชม เป็นสิ่งสำคัญในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมั่นว่าทุกคนมีความรู้ ในตัวอยู่แล้ว ไม่ตัดสินถูก-ผิด เคารพตนเอง และผู้อื่น ฝึกการรับฟังผู้อื่น

ข้อตกลงเบื้องต้น เน้นการแลกเปลี่ยนจากการปฏิบัติจริง ไม่อิงทฤษฎี เน้นการแลกเปลี่ยนจากการปฏิบัติจริง ไม่อิงทฤษฎี “เปิดใจรับฟังความรู้/ความรู้สึกในตัวของผู้อื่น” และ “กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้” ที่เกิดขึ้นในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งนี้ เพราะต้องนำกระบวนการ และเครื่องมือต่างๆเหล่านี้ ไปปรับใช้ ตามบริบทของตนเอง KM เข้าใจได้จากการปฏิบัติจริงในการทำงาน

ความรู้ของคนในองค์กร 1. ความรู้ที่ผ่านการเรียนรู้ 2. ความรู้ที่ผ่านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ 3. ความรู้ที่ผ่านการฝึกอบรม พัฒนา ศึกษา ดูงาน 4. ความรู้ที่เกิดจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. ความรู้ที่รู้ว่าเป็นหน้าที่ เป็นพันธกิจ

ทำไมต้อง KM คุณภาพการศึกษา การพัฒนาคน พัฒนา ศน. มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบราชการ กพร. องค์การพัฒนาใหม่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ในโลกโลกาภิวัตน์ หลักการและจุดมุ่งหมายการปฏิรูปการศึกษา

เป้าหมายการจัดการความรู้ องค์การ ลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ การทำงาน ประสิทธิผล (บรรลุเป้าหมาย) คน คิดเป็น ทำเป็น คนและองค์การเก่งขึ้น

แนวคิดการใช้ KM พัฒนาประสิทธิภาพขององค์การ วิสัยทัศน์/พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามภารกิจหน้าที่ KM 1 การดำเนินงาน KM 2 ผลงาน KM 3

หลักการของ KM เชื่อว่ามนุษย์มีความรู้ และใช้ความรู้ยังไม่เต็มที่ เพราะความรู้จำแนกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Explicit Knowledge 20 % Implicit Knowledge 80 % 2.Tacit Knowledge

2 , 4 อุปสรรคของการจัดการความรู้

หลักการของ KM ธรรมชาติของความรู้ เคลื่อนที่อยู่เสมอ หากนำ ไปใช้และเผยแพร่ อย่างต่อเนื่อง จะมีพลังมากยิ่งขึ้น

วงจรการแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กร

จะ “จัดการ” กับความรู้ 2 ประเภทนี้อย่างไร? Access/Validate Create/Leverage เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ Explicit Knowledge Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน วิชาการ หลักวิชา เคล็ดวิชา ภูมิปัญญา ทฤษฎี ปริยัติ ปฏิบัติ ประสบการณ์ store วิเคราะห์ วิจัย apply/utilize วิจารณญาณ ปฏิภาณ Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด

องค์ประกอบของการจัดการความรู้ คน กระบวนการ เทคโนโลยี The keys to Competitive Advantage 2003

Knowledge Sharing (KS) องค์ประกอบหลักของ KM TUNA Model (Thai –UNAids Model) ของ สคส. Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA)

Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

Knowledge Sharing จาก KV สู่ KS KS ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เป็นส่วนที่สำคัญมากเพราะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเวทีจริง และเวทีเสมือนเช่นผ่านเครือข่าย Internet

ปัจจัยความสำเร็จของ KS “เรื่องเล่าเร้าพลัง” Storytelling บรรยากาศ ผู้เล่า (คุณกิจ) ผู้ฟัง ผู้บันทึก (คุณลิขิต) ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

จาก KS สู่ KA ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Assets ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

จาก KS สู่ KA สิบเรื่องสำคัญที่ต้องรู้ในเรื่องนั้น จะหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ไหน จะเอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรจะปรึกษาหารือกับใคร เพิ่ม สรุป บทเรียน สรุป เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ เพิ่มศักยภาพในการตัดสินใจ สร้างการยอมรับ เกิดความยืดหยุ่น ประโยชน์ที่ได้รับ นวัตกรรม ที่มา: The Cap Gemini Ernst & Young เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัฒนาคุณภาพ ลดการทำงานซ้ำซ้อน การกระจายอำนาจ สัดส่วนผู้เห็นด้วย 50% 60% 70% 80% 90%

บุคลากรแกนนำ KM ต้องทำอะไร ?????

บทบาทหน้าที่ของบุคลากรแกนนำ KM 2. จัดให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร 3. ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศที่ทำให้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดำเนิน ไปได้ด้วยดี 4. ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้น จับประเด็น และสรุปประเด็นที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 5. ประยุกต์ใช้และเผยแพร่เทคนิค เครื่องมือ เพื่อให้ KM ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

บทบาทหน้าที่ของบุคลากรแกนนำ KM 6. ส่งเสริมให้มีการใช้และเผยแพร่เทคนิค KM ผ่าน ICT 7. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร ก่อนและหลังการใช้ KM 8. ติดตามและประเมินผลการนำ KM ไปปรับใช้ ในองค์กร 9. ผลักดันให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs) 10. ประสานและส่งเสริมให้มีการให้ยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง

?????

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่ โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่ ประสบการณ์ ของคนในองค์กรอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนานวัตกรรม ที่จะทำให้มีความได้เปรียบคู่แข่งขัน ทางธุรกิจ Ryoko Toyama

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นการรวบรวมวิธีปฏิบัติขององค์กร และกระบวนการที่เกี่ยวกับ การสร้าง การนำมาใช้ และ เผยแพร่ความรู้ และบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ World Bank

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นวิธีการจัดการความรู้ เป็นกลยุทธ์ และกระบวนการในการจำแนก จัดหาและนำความรู้ มาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้ องค์กรประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ EFQM

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆกัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาคน บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาองค์กร ไปเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ และบรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอื้ออาทรระหว่างกันในที่งาน ศาสตราจารย์ น.พ.วิจารณ์ พานิช