เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลอจิกเกต (Logic Gate).
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Arrays.
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Matrix and Determinant
อสมการ (Inequalities)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปรชุด Arrays.
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
วงรี ( Ellipse).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai

สัญลักษณ์ของเมทริกซ์ เมตริกซ์ (Matrix) หมายถึง กลุ่มของจำนวนที่เรียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยที่แต่ละแถวมีจำนวนเท่าๆ กันและอยู่ในเครื่องหมาย [] หรือ ( ) ก็ได้ ตัวเลขภายใน [] จะเรียกว่าสมาชิกใน Matrix Matrix ที่มีจำนวนแถวเท่ากับ m และ จำนวนหลักเท่ากับ n เราเรียกว่า Matrix mxn ความรู้เกี่ยวกับเมตริกซ์ จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการแก้ปัญหาระบบสมการเส้นตรง และใช้ในงานเรื่อง Graph , Image, Vector

ตัวอย่าง Matrix เมตริกซ์ A มีมิติ 3×3 จะเขียนเมตริกซ์ ด้วยสัญลักษณ์ จะเห็นมีสมาชิก 9 ตัว โดยมีสัญลักษณ์ทั่วไปคือ A = [aij]mxn i=1,2,3,4…,m j=1,2,3,4…,n หมายถึง เมตริกซ์ A มีจำนวนแถว m จำนวนหลัก n โดยที่ a11 หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 1 หลักที่ 1 a23 หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 3 aij หมายถึงสมาชิกที่อยู่ในแถวที่ i หลักที่ j

ชนิดของเมตริกซ์ การเรียงตัวของกลุ่มตัวเลข หรือสมาชิก สามารถจำแนกและเรียกชื่อเฉพาะและมีคุณสมบัติดังนี้ เมตริกซ์แถว (Row Matrix) เมตริกซ์หลัก(Column Matrix) เมตริกซ์ศูนย์(Zero Matrix) เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix) สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix) เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix)

เมตริกซ์แถว (Row Matrix) เมตริกซ์แถว (Row Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มีสมาชิกเพียงแถวเดียว เช่น เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×3 เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×4 เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 1×n

เมตริกซ์หลัก(Column Matrix) เมตริกซ์หลัก(Column Matrix) เป็นเมตริกซ์ที่มี สมาชิกเพียง หลักเดียว เช่น เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 3×1 เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ 4×1 เป็นเมตริกซ์ขนาดมิติ m×1

เมตริกซ์ศูนย์(Zero Matrix)

เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix)

สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix) สเกลาร์เมตริกซ์(Scalar Matrix) เป็นเมตริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลัก(Main Diagonal) เท่ากันหมด และสมาชิกที่เหลือเป็น 0 หมด เช่น

เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) เป็น scalar matrix ที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเป็น 1 เท่ากันหมด สัญลักษณ์ ใช้ I แทน Identity Matrix เมตริกซ์เอกลักษณ์เป็นเมตริกซ์ที่มีคุณสมบัติสำคัญในการคูณ การหาอินเวอร์สของเมตริกซ์ A

ทรานสโพสของเมตริกซ์(Transpose Matrix) ถ้า A เป็นเมตริกซ์ที่มี มิติ 33 ทรานสโพสของเมตริกซ์ A เกิดจากการเปลี่ยนที่จากแถวเป็นหลักของเมตริกซ์ A สัญลักษณ์ At แทน ทรานสโพสของเมตริกซ์ A นั่นคือ A = [aij] มีมิติ m  n At = [aji] มีมิติ n  m ตัวอย่างเช่น

การเท่ากันของเมตริกซ์ เมตริกซ์ใด ๆ จะเป็นเมตริกซ์เท่ากันภายใต้เงื่อนไข เมตริกซ์จะต้องมีมิติเท่ากัน สมาชิกในแต่ละตำแหน่งเท่ากัน เช่น Matrix A = Matrix B

การบวกและการลบเมตริกซ์ การบวกและการลบเมตริกซ์สองเมตริกซ์ใด ๆ สามารถกระทำได้ภายใต้เงื่อนไข เมตริกซ์ ทั้งสองต้องมีมิติเท่ากัน นำสมาชิกที่อยู่ตำแหน่งเดียวกันบวกหรือลบกัน นิยาม ให้ A = [aij]mn และ B = [bij]mn จะได้ (1) A + B = C = [c1j]mn โดยที่ Cij = Aij + Bij (2) A - B = C = [c1j]mn โดยที่ Cij = Aij - Bij

ตัวอย่าง 1. จากโจทย์จงหาค่าของ B – A = (A + B ) + C = (B + A) - C = B – (A + C) = A + ( B + C) =

สมบัติของการบวก สมบัติของการบวก ถ้า A , B , C เป็นเมตริกซ์มิติ mn 1. A + B เป็นเมตริกซ์มิติ mn (คุณสมบัติปิด) 2. A + B = B + A (คุณสมบัติสลับที่) 3. A + (B + C) = (A + B ) + C (คุณสมบัติเปลี่ยนกลุ่มได้) 4. 0 + A = A + 0 = A 5. A + (-A) = 0 6. 7.

การคูณเมตริกซ์ ด้วย สเกลาร์ กำหนด k เป็นสเกลาร์ ใด ๆ แล้ว

การคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์ การคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์ เมตริกซ์ จะคูณกันได้ก็ต่อเมื่อ จำนวนหลักของเมตริกซ์ตัวตั้งเท่ากับจำนวนแถวของเมตริกซ์ตัวคูณ ถ้า A , B ,C เป็นเมตริกซ์ A มีมิติ m  n B มีมิติ n  p และ AB = C แล้ว C มีมิติ m  p

การคูณ คือ แถวของตัวตั้งไปคูณกับหลักของตัวคูณ ทำเช่นนี้เรื่อย ๆ จนครบทุกหลักและเริ่มที่แถวที่สองต่อไป 22 เป็นตัวอย่าง

ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) เป็นค่าที่ได้จากการคำนวณจากเมตริกซ์ที่กำหนดให้ A เป็น nn เมตริกซ์ ดีเทอร์มิแนนท์ของเมตริกซ์ A เขียนแทนด้วย det(A) หรือ A ดังนี้ det(At) =det(A) det(An) = (det(A))n det(AB) = det(A)det(B) - +

การหา Determinant โดยใช้วิธีการการกระจาย Cofactor ไมเนอร์(Minor) ของเมตริกซ์ A คือดีเทอร์มีแนนท์ของเมตริกซ์ A ที่เกิดจากการตัดแถว i และหลักที่ j ออก โคแฟคเตอร์ของ aij คือผลคูณของ (-1)i+j และไมเนอร์ของ aij เขียนแทนโคแฟคเตอร์ของ aij ด้วย Cof.Aij โดยที่ Aij = (-1)I+j Mij และ Mij แทนไมเนอร์ของ aij

จงหาค่าของ โคแฟคเตอร์ A12 และ A23 หลักการ: จะหาค่า โคแฟคเตอร์ A12 ต้อง ตัดแถวที่ 1 และ Column ที่ 2 ออก จะได้ไมเนอร์ของ A12

การหาค่า A23 ก็ทำเช่นเดียวกัน คือตัดแถวที่ 2 และ Column ที่ 3 ออก จะได้

การหา Determinant โดยใช้วิธีการการกระจาย Cofactor ทำการหา Cofactor ของแต่ละหลัก เพื่อให้งานต่อการหา เราจะพยายามใช้ ตำแหน่งที่เป็น 0 เนื่องจากเมื่อทำการหา Det แล้วจะได้ค่าเป็น 0 เช่นกัน

อินเวอร์การคูณของเมตริกซ์ (Inverse Matrix) การหาอินเวอร์ของเมตริกซ์ ให้มีคุณสมบัติ AA-1 – In = A-1A เมตริกซ์ที่จะหาอินเวอร์สได้ต้องเป็นเมตริกซ์จัตุรัส เมตริกซ์ผูกพัน (Adjoint Matrix) เมตริกซ์ผูกพันธ์ของ A คือทรานสโพสของโคแฟกเตอร์ของเมตริกซ์A adj.A = (Cof.A)t