หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Equilibrium of a Particle
ความหมายและชนิดของคลื่น
Vibration of Torsional Disks
คลื่นผิวน้ำ.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
ซ่อมเสียง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง ตอนที่ 7.1 การแกว่งกวัดแบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว ตอนที่ 7.2 ระบบที่มีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว ตอนที่ 7.3 การแกว่งกวัดแบบหน่วงและแบบบังคับ

ตอนที่ 7.1การแกว่งกวัดแบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว สมการการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว แนวเทียบวงกลมอ้างอิงกับฮาร์มอนิกเชิงเดียว พลังงานของตัวแกว่งกวัด

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว สมการการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว การเคลื่อนที่แบบนี้เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว (simple harmonic motion) SHM

กฎของฮุก (Hooke’s law) คือค่าคงตัวของสปริงมีหน่วยเป็นนิวตันต่อเมตร จากกฎข้อที่สองของนิวตัน จะได้ ในกรณี 1 มิติ

สมการการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว เดาคำตอบ หรือ แอมปลิจูด ถูกกำหนดด้วย การกระจัด และความเร็ว ในตอนเริ่มต้น ความถี่เชิงมุม เรเดียน ต่อ วินาที (rad/s) มุมเฟส เฟสเริ่มต้น

จากเงื่อนไข

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หน่วยคือ วินาที คาบของการกวัดแกว่ง หน่วยคือ วินาที คาบของการกวัดแกว่ง จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ใน หนึ่งวินาที หน่วยคือ รอบต่อวินาที หรือ Hz ความถี่ของการกวัดแกว่ง

ถ้ากำหนดให้

การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง

แนวเทียบวงกลมอ้างอิงกับฮาร์มอนิกเชิงเดียว http://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/shm/phase0.html

รูป แสดงวงกลมอ้างอิงสำหรับ SHM ของจุด Q ซึ่งเคลื่อนที่ไป-กลับในแนวแกน (a) ตำแหน่ง x ของจุด Q (b) ความเร็ว ของจุด Q (b) ความเร่ง ของจุด Q รูป แสดงวงกลมอ้างอิงสำหรับ SHM ของจุด Q ซึ่งเคลื่อนที่ไป-กลับในแนวแกน

ระบบประกอบด้วยพลังงานศักย์ และพลังงานจลน์ พลังงานของตัวแกว่งกวัด ระบบประกอบด้วยพลังงานศักย์ และพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานศักย์มีค่าสูงสุดเท่ากับ ณ ตำแหน่งที่มีการกระจัดเป็น พลังงานศักย์มีค่าต่ำสุดเท่ากับ ณ ตำแหน่งสมดุล

พลังงานจลน์มีค่าสูงสุดเท่ากับ ณ ตำแหน่งสมดุล ณ ตำแหน่งที่มีการกระจัดเป็น พลังงานจลน์มีค่าต่ำสุดเท่ากับ

พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานรวม

กราฟแสดงพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลังงานรวมที่เป็นฟังก์ชันของเวลา กราฟแสดงพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลังงานรวมที่เป็นฟังก์ชันของเวลา

พลังงานจลน์ พลังงานศักย์

กราฟแสดงพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลังงานรวมที่เป็นฟังก์ชันการกระจัด กราฟแสดงพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ และพลังงานรวมที่เป็นฟังก์ชันการกระจัด

ตัวอย่างที่ 1 การเคลื่อนที่แบบ SHM ซึ่งแทนด้วยสมการ โดยที่ x มีหน่วยเป็นเมตร t มีหน่วยเป็นวินาที และเฟสมีหน่วยเป็นเรเดียน จงคำนวณหา 1. ความถี่ 2. คาบ 3. การกระจัดสูงสุด 4. อัตราเร็วสูงสุด 5. อัตราเร่งสูงสุด 6. การกระจัด อัตราเร็ว และอัตราเร่ง ที่เวลา และ วินาที

ตัวอย่างที่ 2 การเคลื่อนที่แบบ SHM ซึ่งแทนด้วยสมการ คาบของการกวัดแกว่งเท่ากับ 20 วินาที และที่เวลา t=0 การกระจัดของอนุภาค เท่ากับ 6 เมตร จงหา 1. เฟสเริ่มต้น 2. เวลาที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดการกระจัด เมตร 3. เฟสที่แตกต่างกันระหว่างตำแหน่ง 2 ตำแหน่งของอนุภาคที่เวลา ต่างกัน 5 วินาที

ตัวอย่างที่ 3 มวล 1 กิโลกรัมเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วยแอมพลิจูด 0.05 เมตร และคาบ 5 วินาที จงหา 1. อัตราเร็วของมวลที่จุดซึ่งห่างจากจุดกึ่งกลางของการแกว่งกวัดเป็น ระยะ 0.03 เมตร มีค่าเป็นเท่าใด 2. พลังงานศักย์ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางของการกวัดแกว่งเป็น ระยะ 0.03 เมตรมีค่ากี่จูล

ตัวอย่างที่ 4 มวล 2.0 กิโลกรัมยึดติดกับสปริงและเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วยแอมพลิจูด 0.12 เมตรพลังงานจลน์ที่ระยะการกระจัดเท่ากับ 0.07 เมตร มีค่า 0.38 จูล ค่าคงตัวของสปริงมีค่าเท่าใด

ตัวอย่างที่5 มวล m = 2. 0 kg ติดที่ปลายสปริงเบา เมื่อออกแรง F = 20 ตัวอย่างที่5 มวล m = 2.0 kg ติดที่ปลายสปริงเบา เมื่อออกแรง F = 20.0 N ดึงที่ปลายทำให้สปริงยืดออกเป็นระยะ x(0) = 40 cm หลังจากนั้นเริ่มจับเวลาพร้อมกับปล่อยให้มวลเคลื่อนที่ และถ้าไม่มีแรง เสียดทานในการเคลื่อนที่ และกำหนดให้สมการแสดงตำแหน่งของมวลที่เวลาใดๆคือ จงหา • ค่าคงตัว (k) ของสปริง • อัมพลิจูด (A) • ความถี่เชิงมุม ( ) • มุมเฟส ( ) เริ่มต้น • จงหาความเร็วสูงสุดในการเคลื่อนที่ของมวลที่ปลายสปริงนี้ • จงหาพลังงานรวมของระบบ