การกลายพันธุ์ (MUTATION)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
CARBOHYDRATE.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
: Mutation 04/04/60 รศ.ดร.กรกช อินทราพิเชฐ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Amino Acids and Proteins
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
Sarote Boonseng Nucleic acids.
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
คำถามทบทวนวิชา
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารประกอบ.
การกลายพันธุ์ Mutation Breeding.
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
ยางพอลิไอโซพรีน.
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
Major General Environmental Problems
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกลายพันธุ์ (MUTATION) อ.ดร.จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การกลายพันธุ์ ความหมาย การเปลี่ยนแปลงลักษณะพันธุกรรม สามารถถ่ายทอดจากชั่วอายุหนึ่งไปยังอีกชั่วอายุหนึ่ง พันธุ์

ระดับการกลายพันธุ์ การกลายพันธุ์ระดับโครโมโซม (Chromosome mutation) การกลายพันธุ์ระดับยีน (Gene mutation หรือ point mutation) พันธุ์

การแทนที่คู่เบส (base-pair substitution) ทรานซิชัน (transition) ทรานเวอร์ชัน (transversion) พันธุ์

Source : http://www.mun.ca/biology/scarr/Transitions_vs_Transversions.html พันธุ์

ภาพที่ 1 การเกิดทรานซิซันและทรานสเวอร์ชัน

ภาพที่ 2 การเกิดเฟรมชิฟท์ มิวเทชัน เฟรมชิฟท์ มิวเทชัน (frameshift mutation) ภาพที่ 2 การเกิดเฟรมชิฟท์ มิวเทชัน พันธุ์

Source : http://kvhs. nbed. nb. ca/gallant/biology/frameshift_mutation พันธุ์

การเกิดการกลายพันธุ์ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (spontaneous mutation) - Tautomeric shift - Ionization 2. เกิดจากการชักนำ (induced mutation) - สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ (physical mutagen) - สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางเคมี (chemical mutagen) พันธุ์

พันธุ์ ปฏิกิริยาทัวโทเมอริกชิฟท์ (tautomeric shift) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบสของดีเอ็นเอ ซึ่งมีผลทำให้โครงสร้างโมเลกุลของเบสเปลี่ยนแปลงจากรูปคีโต (keto form) ไปเป็นรูป อีนอล (enol form) หรือเปลี่ยนแปลงจากรูปอะมิโน (amino form) ไปเป็นรูป อิมิโน (imino form) ภาพที่ 3 การเกิดปฏิกิริยาทัวโทเมอริกซิฟท์ใน โมเลกุลของเบสของดีเอ็นเอ พันธุ์

พันธุ์ ปฏิกิริยาทัวโทเมอริกชิฟท์ (tautomeric shift) ภาพที่ 4 การจับคู่ของเบสดีเอ็นเอ หลังเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งของไฮโดรเจนอะตอม พันธุ์

พันธุ์ ปฏิกิริยาทัวโทเมอริกชิฟท์ (tautomeric shift) ภาพที่ 6 การเกิดการกลายพันธุ์เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งไฮโดรเจนอะตอม ในโมเลกุล ของอะดินิน พันธุ์

ปฏิกิริยาการก่อให้เกิดไอออน (ionization) คือ ปฏิกิริยาสูญเสียไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบสของดีเอ็นเอ ทำให้เกิดไอออนขึ้น มีผลทำให้การจับคู่ของเบสเปลี่ยนแปลงไป ภาพที่ 7 การจับคู่ผิดปกติของไทมินและกัวนินที่เกิดปฏิกิริยาการ ก่อให้เกิดไออน พันธุ์

การกลายพันธุ์ที่เกิดจากการชักนำ (induced mutation) สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ (physical mutagen) ได้แก่ อุณหภูมิ รังสี แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ รังสีก่อให้เกิดไอออน (ionizing radiation) ได้แก่ รังสีเอ็กซ์ แกมมา อัลฟา เบตา อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และอนุภาคอื่นๆ ที่มีการเคลื่อนที่เร็ว รังสีเหล่านี้มีอำนาจในการทะลุทะลวงผ่านสิ่งต่างๆ ได้สูง รังสีไม่ก่อให้เกิดไอออน (nonionizing radiation) ได้แก่ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีนี้มีอำนาจในการทะลุทะลวงผ่านสิ่งต่างๆ ได้ต่ำกว่าประเภทแรก พันธุ์

ภาพที่ 8 ซีแอลบีเทคนิค พันธุ์

ภาพที่ 9 มูลเลอร์-5 เทคนิค พันธุ์

ภาพที่ 10 การเกิดไทมินไดเมอร์ พันธุ์

สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางเคมี (chemical mutagen) สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับเบสชนิดต่างๆ ของดีเอ็นเอ (base analogues) 5-bromouracil หรือ 5 BU 2-aminnopurine หรือ 2AP สารเคมีที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเบส กรดไนตรัส (nitrous acid : HNO2) สารไฮดรอกซีลามีน (hydroxylamine) และสารที่ให้หมู่ไฮดรอกซี (OH) สารกลุ่มที่มีหมู่อัลคีน (alkylating agents) พันธุ์

สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับเบสชนิดต่างๆ ของดีเอ็นเอ (base analogues) สารเคมีเหล่านี้สามารถเข้าแทนที่เบสของดีเอ็นได้ระหว่างที่มีการจำลองโมเลกุลของดีเอ็นเอ (DNA replication) ซึ่งมีผลทำให้เกิดการแทนที่ของเบสชนิดหนึ่งด้วยเบสอีกชนิดหนึ่ง ทำให้โมเลกุลที่ได้ใหม่แตกต่างไปจากเดิม ได้แก่ 5-bromouracil หรือ 5 BU 2-aminnopurine หรือ 2AP ภาพที่ 11 การกระตุ้นให้เกิดทรานซิซันโดย 5 BU พันธุ์

พันธุ์ สารเคมีที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเบส ก. กรดไนตรัส (nitrous acid : HNO2 ) ทำหน้าที่ดึงหมู่อะมิโนออกจากโมเลกุลของเบสอะดินิน ไซโตซิน และกัวนิน ภาพที่ 12 ผลของกรดไนตรัสที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในโมเลกุลของเบส พันธุ์

ข. สารไฮดรอกซีลามีน (hydroxylamine) และสารที่ให้หมู่ไฮดรอกซี (OH) ทำหน้าที่เติมหมู่ไฮดรอกซีให้หมู่อะมิโน (NH2) ของเบสไซโตซิน เปลี่ยนเป็นสารไฮดรอกซิลอะมิโนไซโตซินซึ่งสามารถจับคู่กับเบสอะดินิน ภาพที่ 13 ผลของไฮดรอกซีลามีนต่อโมเลกุลของเบสไซโตชิน พันธุ์

ค. สารกลุ่มที่มีหมู่อัลคีล (alkylating agents) 1.สารเอธิลอีเทนซัลโฟเนต และ เอธิลมีเทนซัลโฟเนต ทำหน้าที่เติมหมู่เอธิลให้กับโมเลกุลของเบสกัวนีน ทำให้มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับเบสอะดินิน ซึ่งจะมีผลทำให้การจับคู่ของเบสกัวนินผิดปกติ ภาพที่ 14 ผลของเอธิลอีเทนซัลโฟเนต หรือเอธิลมีเทนซัลโฟเนตต่อโมเลกุลของเบสกัวนิน พันธุ์

พันธุ์ 2.สารเคมีที่มีคุณสมบัติที่จะไปดึงเบสพวกพิวริน (depurination) 3. สารเคมีที่ทำให้เกิดการเพิ่มหรือการขาดหายไปของนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของดีเอ็นเอ ได้แก่ สีย้อมต่างๆ เช่น โพรฟลาวิน (proflavin)และ อะคริดิน ออเรนจ์ (acridine orange) ภาพที่ 15 การแทนที่คู่เบสแบบทรานสเวอร์ชัน พันธุ์

การซ่อมแซมดีเอ็นเอ (DNA repair) รูปแบบของการเสียหายของโมกุลของดีเอ็นเอ ได้แก่ เกิดการแตกหักบนสายใดสายหนึ่งหรือทั้งสองสายของโมเลกุลดีเอ็นเอ เกิดการสูญเสียโมเลกุลของเบสไปจากโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ เกิดการเปลี่ยนแปลงของเบสตัวหนึ่งหรือหลายๆตัวในโมเลกุลของดีเอ็นเอ สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ ได้แก่ รังสีเอกซ์ รังสีอัลตร้าไวโอเลต รังสีแกมมา พันธุ์

กลไกการซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอ โฟโตรีแอคติเวชัน (photoreactivation) ภาพที่ 16 การซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอโดยวิธีโฟโตรีแอคติเวชัน พันธุ์

2.เอกซ์ซิชันรีแพร์ (excision repair) เป็นกระบวนการซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอที่ผิดปกติทั่วไป โดยจะมีการตัดส่วนของดีเอ็นเอที่เสียหายออกไปโดยใช้เอ็นไซม์ชนิดต่างๆ และจะมีการเติมส่วนของดีเอ็นเอที่ถูกต้องแทนส่วนที่ถูกตัดออกไป ดังนี้ 2.1 การซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอที่เสียหายจากรังสี UV (UV damage repair) ภาพที่ 17การซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอที่เสียหายจากรังสี UV (UV damage repair) พันธุ์

2.2 เอพีรีแพร์ (AP repair) เป็นการซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอตำแหน่งที่เสียหายเนื่องจากมีการดึงโมเลกุลของเบสพวกพิวรีนและไพริมิดีนออกไปจากนิวคลีโอไทด์ ซึ่งเรียกตำแหน่งดังกล่าวว่าตำแหน่งเอพี (AP site) ภาพที่ 18การซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอที่ผิดปกติโดยวิธีการเอพีรีแพร์ พันธุ์

2.3 รีคอมบิเนชันรีแพร์ (recombination repair) เป็นการซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอตรงตำแหน่งที่เสียหาย โดยต้องมีกระบวนการจำลองโมเลกุลของดีเอ็นเอ เกิดขึ้นก่อนกระบวนการซ่อมแซมจึงเริ่มต้นดำเนินการ ภาพที่ 18 การซ่อมแซมโมเลกุลของดีเอ็นเอที่ผิดปกติโดยรีคอมบิเนชันรีแพร์ พันธุ์

KDML 105 RD 6 RD 15 พันธุ์