การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
สหสัมพันธ์ (correlation)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ระบบกฎของ FUZZY.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Menu Analyze > Correlate
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
Criterion-related Validity
สหสัมพันธ์ (correlation)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
Basic Experimental Design
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วงรี ( Ellipse).
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
Correlation Tipsuda Janjamlha 06 Sep. 08. X1X2 > interval Ho: ตัวแปรทั้ง 2 ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Ha: ตัวแปรทั้ง 2 มีความสัมพันธ์ กัน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
= = = = = = = = = =1 Sum = 30 Sum = 16 N = 10 N-1 = 9.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย Simple Linear Correlation Analysis By Mr.Wuttigrai Boonkum Dept.Animal Science Fac.Agriculture Khon Kaen University

สัญญลักษณ์ r = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y ของตัวอย่าง การตั้งสมมุติฐาน H0 :  = 0 HA:   0

ความหมายของค่าสหสัมพันธ์ (correlation) สห = ร่วมกันหรือด้วยกัน สัมพันธ์ = ความเกี่ยวข้องกัน การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรที่เป็นเชิงปริมาณ X1 = ความสูง X2 = น้ำหนักตัว X = ปริมาณไข่ Y = น้ำหนักขา

ความหมายของสหสัมพันธ์ เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร ซึ่งมีลักษณะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง โดยค่าสหสัมพันธ์มีค่าอยู่ระหว่าง -1 ----> +1

รูปกราฟของสหสัมพันธ์ เส้นตรง linear ไม่เป็นเส้นตรง non-linear เรียกกราฟลักษณะนี้ว่า scatter diagram

ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย +1 X1 X1 X1 +0.5 +0.2 X2 X2 X2 -1 -0.85 X1 X1 -0.2 X1 X2 X2 X2

ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย X1 X1 X1 X2 X2 X2

ค่าสหสัมพันธ์มี 2 แบบ คือ สหสัมพันธ์ในเชิงบวก Positive correlation สหสัมพันธ์ในเชิงลบ Negative correlation X1 X2 X1 X2 ตัวอย่าง: น้ำหนัก vs ส่วนสูง ขนาดเต้านม vs ปริมาณน้ำนม ความยาวของลำตัว vs จำนวนลูก ตัวอย่าง: น้ำหนักไข่ vs ปริมาณไข่ %ไขมันนม vs ปริมาณน้ำนม

ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย โดยทั่วไปค่าสหสัมพันธ์จะมีค่าอยู่ในช่วง -1 ถึง +1 เครื่องหมาย + แสดงว่าตัวแปร X และ Y มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน เครื่องหมาย - แสดงว่าตัวแปร X และ Y มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน หากค่าสหสัมพันธ์ = +1 แสดงว่า X และ Y มีความสัมพันธ์อย่างสมบูรณ์และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน หากค่าสหสัมพันธ์ = -1 แสดงว่า X และ Y มีความสัมพันธ์อย่างสมบูรณ์แต่เป็นในทิศทางตรงกันข้าม หากค่าสหสัมพันธ์ = 0 แสดงว่า X และ Y ไม่มีความสัมพันธ์กัน การจัดกลุ่มค่าสหสัมพันธ์อย่างคร่าวๆ > 0.85 มีความสัมพันธ์สูง 0.84 ----> 0.50 มีความสัมพันธ์ค่อนข้างสูง 0.49 ----> 0.01 มีความสัมพันธ์ต่ำ

การคำนวณ ดังนั้น รอบอกและน้ำหนักตัวเมื่อแรกเกิดของโคพื้นเมืองมีค่าสหสัมพันธ์ เท่ากับ +0.52 เนื่องจาก มีค่าเป็นบวก แสดงว่าทั้งสองตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกัน

สวัสดี