Pre-test ถามตัวเอง-ตอบด้วยหัวจิตใจของตัวเราเองว่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ ในชุมชน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pre-test ถามตัวเอง-ตอบด้วยหัวจิตใจของตัวเราเองว่า 1.การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส. ในชุมชนมีหลักยึดทางวิทยาการระบาดได้แก่ ตัวอะไรบ้าง ? 2.การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส.ในชุมชนมีรูปแบบอะไรบ้าง ? 3.การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส. ในชุมชนมีประโยชน์อะไรบ้าง ?

อุบัติการณ์สุขภาพ ด้านเภสัชกรรม อุบัติการณ์สุขภาพด้านเภสัชกรรม.pptx

สถานการณ์/ภาวะทางทันตสุขภาพ   เป็นการติดตามการเกิดโรคในช่องปาก เพื่อให้สามารถเห็น/ตรวจพบโรคหรือความผิดปกติตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก สามารถป้องกันหรือควบคุมได้อย่างทันท่วงที ก่อนที่โรคจะลุกลามจนยากที่จะแก้ไขได้ การทราบสถานการณ์ภาวะทันตสุขภาพ มีประโยชน์ คือ    1) ทำให้ตรวจพบปัญหาทันตสุขภาพได้ทันที อันจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อประชาชน               

สถานการณ์/ภาวะทางทันตสุขภาพ   2) ทำให้มีกระบวนการแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุขอย่างจริงจังและเป็นระบบ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสามารถใช้ข้อมูลที่ได้จากการเฝ้าระวังทันตสุขภาพ ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและเลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะลงมือปฏิบัติงาน รวมทั้งใช้ในการประเมินผลงานได้

สถานการณ์/ภาวะทางทันตสุขภาพ  3) ทำให้ทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาวะทันตสุขภาพของประชาชน มีข้อมูลพื้นฐานสำหรับการวางแผนการส่งเสริม ป้องกันและรักษาโรคในชุมชน รวมทั้งการวางแผนทางการพัฒนาบุคลากร 4) ช่วยกระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว ทราบถึงความจำเป็นในการดูแลทันตสุขภาพของตนทั้งในด้านการป้องกันและรักษา ทำให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุข

การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ ในชุมชน การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ ในชุมชน V“อ.ตะวัน บุญเสือ วสส.พล. 2554

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรู้ เข้าใจ อธิบายว่า มีหลักยึดทางวิทยาการระบาดที่นำมาใช้บรรยายการกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส. ในชุมชนได้ เพื่อรู้ เข้าใจ อธิบายได้ว่า มีรูปแบบการกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส.ในชุมชนได้ เพื่อรู้ เข้าใจ อธิบายถึง ประโยชน์ของการกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพ-อบส.ในชุมชนได้

ภาวะทันตสุขภาพของชุมชนแบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ  3.1 ระดับบุคคล (Individual Level)    เป็นภาวะทันตสุขภาพของแต่ละบุคคลด้วยตนเอง ได้แก่ การแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร การใช้ฟลูออไรด์ การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจฟันตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้รู้สภาพในช่องปาก ซึ่งถ้ามีความผิดปกติเล็กน้อยจะได้ทำการแก้ไขด้วยตนเอง กรณีไม่สามารถแก้ไขได้เองก็จะได้ไปรับการรักษาจากทันตบุคลากร             

ภาวะทันตสุขภาพของชุมชน แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ     3.2 ระดับชุมชน (Community Level)    ภาวะทันตสุขภาพในระดับชุมชน เริ่มตั้งแต่การสำรวจทันตสุขภาพ เพื่อจะได้ข้อมูลของชุมชนมาจัดหมวดหมู่ตามลักษณะของตัวแปร เช่น อายุ เพศ เป็นต้น แล้วนำมาวิเคราะห์ แปลผลให้เห็นลักษณะของชุมชน ลักษณะการกระจายของโรค แล้วแจ้งข้อมูลให้องค์กรชุมชนทราบและส่งให้ผู้บริหารระดับต่างๆ ให้วางแผนแก้ไขปัญหาตามสาเหตุที่พบและความยากง่ายของปัญหา สุดท้ายควรมีการประเมิลผลโดยการตรวจทันตสุขภาพซ้ำ เพื่อดูว่าทันตสุขภาพของชุมชนดีขึ้นหรือไม่

นิยาม Epidemiology คือ “ศาสตร์หรือวิทยาการที่ว่าด้วยปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อประชากร วิทยาการะบาด คือวิชาที่ศึกษาถึงการกระจายโรค ปัจจัยที่กำหนดหรือปัจจัยที่มีอิทธิพล(สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง)ต่อการเกิดโรคในประชากรมนุษย์ รวมถึงการควบคุมป้องกันโรคในชุมชนนั้นด้วย

วิทยาการระบาด-วร. ศึกษา 1. โรค ภัย ไข้ เจ็บ อันตราย (What) อุบัติการณ์สุขภาพ (อบส.Health EventsWhat) 2. เกิด เพราะเหตุ/สาเหตุ/ปัจจัยใด และเกิดได้เป็นอย่างไร (Why /How) 3. เกิดแล้ว ทำให้เห็นออกมาในรูปแบบใด ( Who Where When) คือการกระจายของโรค /อุบัติการณ์สุขภาพ 4. ประชากร (Population /Group people) ( Who)

โรคและสภาวะในช่องปาก    1) อนามัยช่องปาก ได้แก่ ความสะอาดในช่องปากของเด็ก การมีช่องปากสกปรกเป็นสาเหตุของการเกิดโรคทั้งโรคเหงือก และโรคฟันผุ ปัญหาเรื่องอนามัยในช่องปากไม่ดี สามารถแก้ไขได้ง่ายๆ โดยการแปรงฟันอย่างถูกวิธี     2) โรคฟันผุ เป็นโรคที่มีความชุกสูงในกลุ่มเด็กนักเรียน และก่อให้เกิดความเจ็บปวดรุนแรงเป็นสาเหตุสำคัญของการขาดเรียนในเด็ก ถึงแม้ว่าปัญหาเรื่องโรคฟันผุเมื่อเกิดขึ้นแล้วครูหรือชุมชนจะไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้เองต้องมีการรักษาพยาบาลแต่การเฝ้าระวังโรคนี้จะมีผลทำให้ชุมชนรู้ปัญหาและแสวงหาบริการได้ทันท่วงที

ประชากร (Population /Group people) ( Who) 1) ตรวจสุขภาพในช่องปากนักเรียนโดยครูคณะทำงาน เพื่อหาปัญหาตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ 2) จัดให้มีการสอนทันตสุขศึกษา และการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน   

ประชากร (Population /Group people) ( Who)   3) ดำเนินงานทันตกรรมป้องกันโดยการใช้สารฟลูออไรด็ในพื้นที่ที่มีปริมาณฟลูออไรด็ในน้ำต่ำ     4) ให้บริการทันตกรรมบำบัดเบื้องต้น การส่งต่อตามระบบ ให้การบำบัดรักษาอย่างเป็นระบบ

วิทยาการระบาด(Epidemiology-Epi) ลักษณะ วิทยาการระบาด(Epidemiology-Epi) เป็นศาสตร์/วิชาการที่ เป็นองค์ความรู้(Knowledge) วิธีการศึกษา และ เป็นวิธีการที่นำไปปฏิบัติ/กิจกรรม(Methodology)

ความรอบรู้เรื่องโรค/อบส. ควรรู้ประเด็นอะไรบ้าง ความรอบรู้เรื่องโรค/อบส. ควรรู้ประเด็นอะไรบ้าง โรค /อบส. เกิดขึ้นได้อย่างไร - องค์ประกอบ - สิ่งกำหนด - กระบวนการเกิดโรค - ขั้นตอน (หรือธรรมชาติ) การเกิดโรค - ปรากฏการณ์ภูเขาน้ำแข็ง - รูปแบบการเกิดโรค โรค /อบส. คืออะไร ทราบได้อย่างไร - นิยาม - ขนาด -ความรุนแรง โรค/อบส. มีการกระจายอย่างไร -บุคคล - เวลา - สถานที่ ใช้ประโยชน์จากความรู้ได้อย่างไร? ควบคุม ป้องกัน/เฝ้าระวังฯ/สอบสวนโรค /อบส. /วิธีการศึกษาทางระบาด

โรค ภัย ไข้ เจ็บที่มีทางวร. คือ 1.โรคต่างๆ ตามนิยาม โรค ภัย ไข้ เจ็บที่มีทางวร. คือ 1.โรคต่างๆ ตามนิยาม 2.ภัย = น้ำท่วม ไฟไหม้ ภัยหนาว ภัยแล้ง 3.ไข้ = อาการที่พบ เช่น ฟันผุ เหงือกบวม เครียด ซึมเศร้า กินเห็ดพิษ ยากจน ฆ่าตัวตาย ทำแท้ง ปวดเมื่อย หัวล้านฯลฯ 4.เจ็บ = อุบัติเหตุอาชีพ อุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุในบ้าน /นอกบ้าน = อุบัติการณ์สุขภาพ (อบส. Health Events ;โป๊ะ/เรือล่ม เหมือง/ตึกถล่ม

วิทยาการระบาด โรค/อบส วิทยาการระบาด โรค/อบส.มีการกระจายในลักษณะอย่างไร Distribute--Distribution มิใช่ การแพร่กระจายของโรค = Disperse /Spread /transmit มิใช่ โรค/อบส.ในมนุษย์เรา/คน คนหนึ่ง1-Person แต่เป็น โรค/อบส. ในชุมชนมนุษย์เรา/กลุ่มคน/ชุมชน People /Population/Community

ให้ทุกคน อธิบาย/บรรยาย การกระจายตัวของนักศึกษา ทันตา16 คำถาม ที่นศ. มีต่อclass? การกระจายตัว ของนักศึกษา ทันตา16 ด้านบุคคล การกระจายตัว ของนักศึกษาทันตา16 ด้านพื้นที่ที่มาจากภูมิลำเนา การกระจายตัว ของนักศึกษาทันตา16 ด้านเวลาที่เกิด กรจายตัวของนศ

ให้ทุกคน อธิบาย/บรรยาย การกระจายตัวของนักศึกษา เภสัช21 คำถาม ที่นศ. มีต่อclass? การกระจายตัว ของนักศึกษา เภสัช21 ด้านบุคคล การกระจายตัว ของนักศึกษาเภสัช21ด้านพื้นที่ที่มาจากภูมิลำเนา การกระจายตัว ของนักศึกษาเภสัช21ด้านเวลาที่เกิด กรจายตัวของนศ

ให้ทุกคน อธิบาย/บรรยาย การกระจายตัวของนักศึกษา สสช61 คำถาม ที่นศ. มีต่อclass? การกระจายตัว ของนักศึกษา สสช61 ด้านบุคคล การกระจายตัว ของนักศึกษา สสช61 ด้านพื้นที่ที่มาจากภูมิลำเนา การกระจายตัว ของนักศึกษา สสช61 ด้านเวลาที่เกิด กรจายตัวของนศ

So ต้องมีสิ่งที่นำมาใช้แสดง การกระจายตัว ของนักศึกษา เภสัช21/ทันตา16/สสช62 คือ ตัวเลข ที่บอกเป็น จำนวน อัตรา แผนผัง/แผนภูมิ Chart แผนที่ Map

อุบัติการณ์สุขภาพ ด้านเภสัชกรรม

บุคคล เวลา สถานที่ Person Time Place หลัก การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน Who When Where บุคคล เวลา สถานที่ Person Time Place

นำหลักนี้มาอธิบาย หรือนำมาพรรณนา จึงเป็น Descriptive Epidemiology วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา

คือ หากต้องตอบคำถามเจ้านาย /ก็ควรจะบรรยายว่า มี คือ หากต้องตอบคำถามเจ้านาย /ก็ควรจะบรรยายว่า มี -What-โรคอะไร - ฟันผุ /Birds flu -Who- เกิดกับใคร - คนไทย ? เอเชีย ? ยุโรป -When- เกิดเมื่อไหร่ - เดือน/ปลายฝน /ฤดูหนาว -Where- เกิดที่ไหน – จังหวัด ไทยประเทศ อินโดฯ อินเดีย ,เวียดนาม และ(How many) จำนวนเท่าไร (เป็นอัตราชุกได้ยิ่งดี) นี้คือ (ตอบด้วยหลัก- การกระจายของโรค) How เกิดได้อย่างไร – กินนม ขนม ลูกอมหวาน ติดต่อทางเดินหายใจ - ทางการสัมผัส (คนที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย) - เกิดจากเชื้อ โคโรน่าไวรัส - ศึกษาลึกทาง genetic รู้ว่าเป็นโคโรน่า ไวรัส ที่ต่างจากตัวอื่นๆ - ชะมดเป็นตัวแพร่โรคที่สำคัญ ( ตอบด้วย ลักษณะ การเกิดโรค)

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน บุคคล Person ตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ -6. ระดับการศึกษา - อาชีพ 7.-10. ฐานะศก.-พฤติกรรม-ความเชื่อ-อื่นๆ

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน เพศ ; ชาย ,หญิง อายุ; -- รายปี ; กลุ่มอายุ - >1 ,1-4, 5-9, 10-14, 15-19, 20-24, 25- ,--,70+ สถานภาพสมรส; โสด, คู่, ม่าย หย่า แยก (ม่าย=รวมหย่า, แยก) เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ; คนไทย /ต่างด้าว (ฝรั่ง /เอเชีย ฯ)

บรรยายพร้อมนำเสนอ Ex ผลการศึกษา ผลการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพจิตใจขณะประสบภัยไข้หวัดนก ข้อมูลทั่วไป 34.1 % 65.9 % ภาพที่ 1 เพศของผู้ประสบภัยไข้หวัดนกที่มารับบริการ (n= 361)

ภาพที่ 2 อายุ ของผู้ประสบภัยไข้หวัดนกที่มารับบริการ (n= 361) บรรยายพร้อมนำเสนอ 0.6 % 31.0 % 5.0 % 14.1 % 23.8 % 25.5 % ภาพที่ 2 อายุ ของผู้ประสบภัยไข้หวัดนกที่มารับบริการ (n= 361) X 53.23 S.D. 14.06 Median 60

Malaria in VBDO 2 Chiangmai by Sex FY 1999 12,169 6,270

Malaria Age Group in VBDO 2 Chiangmai bY 1999 Ex Malaria Age Group in VBDO 2 Chiangmai bY 1999 Cases

Pertussis (Whooping Cough) United States, 2010 บรรยายพร้อมนำเสนอ Ex Pertussis (Whooping Cough) United States, 2010 300 600 900 1,200 1,500 1,800 2,100 2,400 ? Reported Cases <1 1–4 5–9 10–14 15–19 20–29 30–39 40–49 50–59 >60 Age Group (Years) Source: CDC. Summary of notifiable diseases.2011.

บุคคล เชื้อขาติ เผ่าพันธุ์ บรรยายพร้อมนำเสนอ บุคคล เชื้อขาติ เผ่าพันธุ์

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน ระดับการศึกษา ; ไม่ได้เรียน ,ประถมศึกษา, มัธยมศ.( ต้น ,ปลาย), อุดมศ.(ป.ตรี, สูงกว่า) อาชีพ ; เกษตรกรรม, รับจ้าง, ค้าขาย, รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ, ธุรกิจ, อื่นๆ ฐานะเศรษฐกิจ; ดี/รวย, พอมีพอกิน/ปานกลาง, ยากจน

Ex ร้อยละ 53.5% 11.7% 10.2% 4.2% 2.8% 1.9% 0.8% 14.9% ทำนาทำไร่ งานบ้าน รับจ้าง ค้าขาย ว่างงาน เลี้ยงสัตว์ รับราชการ อื่นๆ อาชีพ ภาพที่ 3 อาชีพของผู้ประสบภัยไข้หวัดนกที่มารับบริการ (n= 361)

บุคคล ที่มีฐานะ ความเป็นอยู่ บรรยายพร้อมนำเสนอ บุคคล ที่มีฐานะ ความเป็นอยู่ หลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน พฤติกรรม; บวก, ลบ (กิน-แปรง -ใช้จ่ายประหยัด ปกติ ฟุ่มเฟือย, สูบบุรี่/สวม-ไม่สวม, ออกกำลังกาย, เล่น-ไม่เล่นกีฬา ฯ) ความเชื่อที่มี;บวก, ลบ( เช่น กิน-อ้วน: กรรมพันธุ์ สารอาหาร อื่นๆ ที่มีเช่น สิทธิการรักษา /ประกันฯ กองทุนแปรง/กองทุนยา มี/ไม่ อะไรบ้าง

Fig. 4. Accident event types leading to sprain and strain injuries (sprain/strain injuries with 10 or more claims).

การกระจายของ Dt-Rxในชุมชน วสส บุคคล Person ตาม เพศ ญ=YY; ช=xx อายุ 19yr=9 ; 20yr=15; 21yr=34 22yr=24; >=23yr=6 สถานภาพสมรส โสด=eee ระดับการศึกษา =hh; อาชีพ =jj ฐานะ: ยากจน xx พอมีyy ร่ำรวย zz พฤติกรรม= E S F ความเชื่อ=gg

การกระจายของ 61ในชุมชน วสส บุคคล Person ตาม อายุ 19yr=9 ; 20yr=15; 21yr=34 22yr=24; >=23yr=6 เพศ ญ=YY; ช=xx สถานภาพสมรส โสด=eee ระดับการศึกษา =hh; อาชีพ =jj ฐานะ: ยากจน xx พอมีyy ร่ำรวย zz พฤติกรรม = E S F /ความเชื่อ=gg

ด้านบุคคล Person การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน ใบงาน1 การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน What?.................. ด้านบุคคล Person ให้นศ.(ของห้อง/รุ่นนี้) แสดงการกระจายมาให้ครบถ้วน (ทั้งคุณลักษณะ และ จำนวน/อัตรา)

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน เวลา Time อธิบายตาม นาที, ชั่วโมง วัน, สัปดาห์ เดือน, ฤดูกาล ปี, ทศวรรษ

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน เวลา Time ตาม นาที; 1 2 3 4 ชั่วโมง;1-2-3 am/ 4-5-6pm วัน; อา จ อ พ พฤ ศ ส / วันที่1-2-3-----31

อธิบาย - การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน เวลา Time ตาม สัปดาห์; 1-2-3---- 52 เดือน; มค กพ มีค----ธค. ฤดูกาล; ร้อน ฝน หนาว /ไม้ผลิ ปี; พ.ศ./ค.ศ. 2552…/2010… ทศวรรษ; ทุก10ปีพ.ศ./ค.ศ.

การกระจายของผู้ป่วยอุจจาระร่วงอย่างแรง ตามวันเริ่มป่วย Ex บรรยายพร้อมนำเสนอ จำนวนผู้ป่วย มกราคม กุมภาพันธ์ วันเริ่มป่วย

Monthly Reported Malaria Thai Cases VBDO 2 FY 1999 - 2001 Ex Cases

อัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรคจำแนกตามอวัยวะที่เกิดโรค, ประเทศไทย พ. ศ อัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรคจำแนกตามอวัยวะที่เกิดโรค, ประเทศไทย พ.ศ.2536-2546 Ex อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ? ? ปี พ.ศ.

ใบงาน2 อ ธิบายการกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน What?.................. ด้าน เวลา Time ให้นศ.(ของห้อง/รุ่นนี้) แสดงการกระจายมาให้ครบถ้วน (ทั้งคุณลักษณะ และ จำนวน/อัตรา)

การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน สถานที่ Place ตาม บ้าน,ซอย, ละแวก, ด้าน, คุ้ม, หมู่,ชั้น,โรงเรียน, ตำบล, อำเภอ,เทศบาล จังหวัด, ภาค,ประเทศ.,ภูมิภาค,ทวีป

การกระจายของโรคตามสถานที่ ประเทศ ภูมิภาค ทวีป Ex

3 ขอบป่า (Forest verge) Ex บรรยายพร้อมนำเสนอ 3 ขอบป่า (Forest verge) เป็นบริเวณรอยต่อระหว่าง Open swamp และ swamp forest พบยุงแมนโซเนียได้หลายชนิดแต่พบชนิด Ma. Annulifera มากที่สุด

Spot map เป็นการนำเสนอข้อมูลเป็นจำนวน(ความถี่) โดยอาศัยจุดหรือเข็มหมุด 1 จุด = ผู้ป่วย 1 รายหรือ 1 กลุ่ม ทำให้เห็นทิศทางการกระจายและความถี่ ของผู้ป่วยในพื้นที่ การอธิบายถึงทิศทางการกระจายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ด้วยการลงจุดที่พบผู้ป่วยรายแรกของแต่ละหมู่บ้านลงในแผนที่ Ex

บรรยายพร้อมนำเสนอ ภาพที่ 6 พื้นที่ได้รับภัยแล้ง จังหวัด ตาก ปี 2550 บรรยายพร้อมนำเสนอ ภาพที่ 6 พื้นที่ได้รับภัยแล้ง จังหวัด ตาก ปี 2550 Ex

ไข้หวัดนก 22 June 2009 52,160 cases, 231 deaths (WHO-timeline) สโลเวเนีย ฟิจิ บังคลาเทศ อัลจีเรีย บรูไน ประเทศใหม่ : อัลจีเรีย บังคลาเทศ บรูไน ฟิจิ สโลเวเนีย

ด้านสถานที่ Place อธิบาย การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน What?.................. ใบงาน3 ด้านสถานที่ Place ให้นศ.(ของห้อง/รุ่นนี้) แสดงการกระจายมาให้ครบถ้วนโดย ให้ร่างแผนที่มาด้วย (ทั้งคุณลักษณะ และ จำนวน/อัตรา)

รูปแบบการกระจายของโรคในชุมชน ความหมาย และจำนวน กระจายแบบประปราย Sporadic กระจายประจำถิ่น Endemic กระจายแบบแพร่ระบาด Epidemic กระจายแพร่ระบาดเฉพาะกลุ่ม Out-break กระจายแพร่ระบาดทั่วโลก Pandemic

Figure 1. 1999 distribution of counties with full or partial primary care health personnel shortage designation. PC = primary care; HPSA = health professional shortage area. Source: The Robert Gaham Center: Policy Studies in Family Practice and Primary Care.

รูปแบบการกระจายของโรค ความหมาย และจำนวน กระจายแบบประปราย Sporadic = นานๆพบ1-2 รายในพื้นที่นั้นๆ กระจายแบบประจำถิ่น Endemic = พบจำนวนเดิมๆ ที่เคยเกิด ในพื้นที่และระยะเวลาเดียวกันนั้น กระจายแบบแพร่ระบาด Epidemic = มีจำนวนมากกว่าเดิม. คือ>X+2sd.ในพื้นที่และในระยะเวลาเดียวกันนั้น กระจายแพร่ระบาดเฉพาะกลุ่มOut-break

รูปแบบการกระจายของโรค ความหมาย และจำนวน กระจายแบบประปราย Sporadic กระจายประจำถิ่นEndemic กระจายแบบแพร่ระบาด Epidemic กระจายแพร่ระบาดเฉพาะกลุ่ม Out-break = เกิดกับกลุ่มเดียวกันที่ไปได้สัมผัสสิ่งใดมาคล้ายๆกัน นับได้มากตั้งแต่ 2คนขึ้นไป กระจายแพร่ระบาดทั่วโลก Pandemic =เกิดกับคน(ในกลุ่มเป้าหมาย)แล้วแพร่กระจายจากประเทศหนึ่งไปยังประเทศต่างๆ ได้มากกว่า2ประเทศ (จนทั่วโลกได้)

PANDEMIC DISEASE Ex Ex

Ex

Ex

Ex

Ex

Ex

Ex

ดูตัวอย่าง ที่เขาทำกันsit สคร9Rpt Epid 49. pdf และ ดูตัวอย่าง ที่เขาทำกันsit สคร9Rpt Epid 49.pdf และ..\Hwork\PHc61\ตรวจแล้ว\92PPTสุภัชชา พรหมมารักษ์ชิคุนกุนยา.doc Ex

ดูตัวอย่าง ที่เขาทำกัน อุบัติการณ์สุขภาพด้านเภสัชกรรม.pptx

การกระจายของโรค/อบส.มีประโยชน์ ? การกระจายของโรค/อบส.มีประโยชน์ ? Ex เมื่อเราเห็น หรือมีข้อมูล พอที่จะบรรยาย หรืออธิบาย ได้แล้ว ? เมื่อไร จึงมีข้อมูลพอ? มีระบบรายงาน จัดเก็บ - รวบรวม –วิเคราะห์ข้อมูล –นำเสนอ(รายงาน) กว่าจะรู้เดียงสา เมื่อไร จึงมีข้อมูลพอ?

การกระจายของโรคตามบุคคล Ex การกระจายของโรคตามบุคคล การกระจายตามบุคคล มีประโยชน์ ?

การกระจายของโรคตามเวลา Ex จำนวนรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ภาคเหนือและประเทศไทย 2530-2547 การกระจายตามเวลา มีประโยชน์ ?

การกระจายตามเวลา มีประโยชน์ ? จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัด …….. ปีพ.ศ.2547 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน(42-46) Ex จำนวนผู้ป่วย การกระจายตามเวลา มีประโยชน์ ?

การกระจายของโรคตามสถานที่ Ex การกระจายของโรคตามสถานที่ การกระจายตามสถานที่ มีประโยชน์ ? ไข้หวัดนก ประเทศไทย 2547 17 cases in 12 provinces

สรุป-ต้องอธิบาย การกระจายของโรค/อุบัติการณ์สุขภาพในชุมชน บุคคล เวลา สถานที่ อายุ เพศ นาที,ชั่วโมง บ้าน,ซอย, การศึกษา/ชั้น วัน, สัปดาห์ ละแวก,คุ้ม ด้าน, หมู่, อาชีพ ฐานะ เดือน, ฤดูกาล ห้อง/โรงเรียน ตำบล เชื้อชาติ ปี, ทศวรรษ อำเภอ เทศบาล พฤติกรรม จังหวัดภาค ,ประเทศ ความเชื่อ ภูมิภาค, ทวีป

การกระจายของโรค/อบส. เวลา สถานที่ บุคคล สรุป ระยะยาว เป็นรอบ ระยะสั้น แบ่งตามคุณลักษณะประจำตัว (เพศ, อายุ, ภูมิคุ้มกัน) แบ่งตามกิจกรรม (งาน, กีฬา, ศาสนา) แบ่งตามฐานะ/ตำแหน่ง สถานที่ แบ่งตามธรรมชาติ (ปชก., ภูมิประเทศ, ป่าไม้ ) แบ่งตามเขตการปกครอง

เทียบ สัตตบุรุษ กับนักวิทยาการระบาด รู้จัก สัตตบุรุษ : เหตุ ผล ตน กาล เทศ บุคคล ชุมชน นักวร. :สาเหตุ โรค/อบส. Host Time Place Person Community รู้จัก

ความรอบรู้เรื่องโรคควรมีประเด็นอะไรบ้าง โรค(ภัย) คืออะไร ทราบได้อย่างไร - นิยาม - ขนาด -ความรุนแรง โรค(ภัย) เกิดขึ้นได้อย่างไร - องค์ประกอบ - สิ่งกำหนด - กระบวนการเกิดโรค - ขั้นตอน (ธรรมชาติ) การเกิดโรค - ปรากฏการณ์ภูเขาน้ำแข็ง - รูปแบบการเกิดโรค โรค/อบส. มีการกระจายอย่างไร -บุคคล - เวลา - สถานที่ ใช้ประโยชน์จากความรู้ได้อย่างไร

ให้ นศ . อธิบาย หรือ พรรณนา อบส. ให้ ไปแสดงผลจากfile งานส่งดร.สมตระกูล มาว่า หน้าใด ได้อธิบายการกระจายโรคในประเด็นใด บ้าง พร้อม ส่งfileมาที่tawan-new@hotmail.com ภายใน15 ธันวาาคม 53

ให้นศ.อธิบายหรือพรรณนา อบส.การใช้จ่ายของนศ.ในรอบปี PPTข้อมูลและการแสดงข้อมูลในรูปกราฟ แผนภูมิ แผนที่ ให้อธิบายการกระจายในประเด็นใด พร้อม ส่งfile tawan-new@hotmail.com ภายใน31 กรกฎาคม 53

ข้อสอบวัดผลหลังเรียน Post-test ข้อ1-12 ให้เลือกข้อที่ถูกต้องตามโจทย์ ทำเครื่องหมาย O ในช่องที่ต้องการ ข้อ 13 เขียนอธิบาย

วิทยาการระบาด จะมีหลักที่นำมาใช้อธิบายหรือพรรณนาการกระจายโรค/อบส วิทยาการระบาด จะมีหลักที่นำมาใช้อธิบายหรือพรรณนาการกระจายโรค/อบส. ตามข้อใด What: โรคอะไร - ฟันผุ- Host Who: เกิดกับคนไทย -นักเรียน-Agent Where: เกิดที่โรงเรียนเทศบาล–Host -Environment Who-When- Where:ใคร-เมื่อไร -ที่ไหน Who -How many จำนวนเท่าไร - Agent ง”

2.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามบุคคล ข้อใดถูกต้อง? 2.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามบุคคล ข้อใดถูกต้อง? รูปร่าง สูง ต่ำ ผิวดำ ขาว วัยรุ่น เด็ก ชรา ภูมิลำเนาที่มา เพศ อายุ เทศบาล, จังหวัด อายุ เพศ เชื้อชาติ การศึกษา อาชีพ ฐานะ พฤติกรรม เชื้อสาเหตุ เดือน/ปีที่เกิด วัน /เดือนที่เจ็บป่วย ชื่อโรค ชื่อผู้ป่วย สถานที่ ญาติมิตร ที่แวดล้อม 8

3. เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส 3.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามบุคคล ในรายละเอียดข้อใดถูกต้อง รูปร่าง:สูง -ต่ำ ผิวดำ-ขาว,วัยเด็ก-วัยรุ่น-ชรา,วันเกิด อายุ : รายปี หรือกลุ่มอายุ <1, 1-4, 5-9,---,65-69, 70+ ปี เพศ: ชาย-หญิง, สถานที่เกิดโรค: เทศบาล - ตำบล ชื่อผู้ป่วย, เชื้อชาติ, ระดับการศึกษา : ประถม - มัธยม - ปริญญา ๘

4.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามเวลา ข้อใดถูกต้อง? 4.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามเวลา ข้อใดถูกต้อง? อายุ เพศ เชื้อชาติการศึกษา อาชีพ ฐานะศก. พฤติกรรม ความเชื่อ และ อื่นๆ ภูมิลำเนา ที่เกิด เพศ อายุ เทศบาล จังหวัด นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ฤดูกาล ปี ทศวรรษ ชื่อโรค ชื่อผู้ป่วย เดือนปี/ที่เกิด วัน/เดือนที่เจ็บป่วย สถานที่ ที่แวดล้อม 8

5.เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชนตาม สถานที่ ข้อใดถูกต้อง? อายุ เพศ เชื้อชาติการศึกษา อาชีพ ฐานะ พฤติกรรมความเชื่อ เดือน, ฤดูกา ภูมิลำเนาที่เกิด ปี ทศวรรษ อายุ เพศ เทศบาลจังหวัด ชื่อโรค ชื่อผู้ป่วย เดือนปี/ที่เกิด วัน/เดือนที่เจ็บป่วย สถานที่ ที่แวดล้อม บ้าน ซอย ละแวก คุ้ม ด้าน หมู่ ตำบล อำเภอ ภาคประเทศ ภูมิภาค ทวีป ‘

6. การนำเสนอข้อมูลเป็นจำนวน(ความถี่) ของโรค/อบส 6.การนำเสนอข้อมูลเป็นจำนวน(ความถี่) ของโรค/อบส. โดยใช้จุดหรือเข็มหมุด 1 จุด = ผู้ป่วย 1 รายหรือ 1 กลุ่ม แสดงบนแผนที่ตำบล หรือ อำเภอทำให้เห็นทิศทางการกระจายและความถี่ เรียกการนำเสนอนี้ตามข้อใด? Spot map Mind map แผนภูมิจริง File map d

ก. กราฟเส้นแสดงให้เห็นถึง ข. วันที่ 1 มกราคม - 8 กุมภาพันธ์ 2553 7. ข้อความ หากมีหัวข้อนำเสนอว่า “รูปที่ 4 จำนวนผู้ป่วย/ อัตราป่วย โรคฟันผุ จำแนกตามช่วงอายุ จังหวัดระยอง” การอธิบายตามหลักการพรรณนาการกระจายโรค/อบส.ในชุมชนตามนี้ยังขาดประเด็นใด? ก. กราฟเส้นแสดงให้เห็นถึง ข. วันที่ 1 มกราคม - 8 กุมภาพันธ์ 2553 ค. ในตำบลต่างๆที่เกี่ยวข้อง ง. กลุ่มคนหรือประชากร ของจังหวัด กิ

อะไร เท่าไร อะไร ใคร เมื่อไร อะไร ใคร ที่ไหน ใคร ที่ไหน เท่าไร 8.ข้อความ หากมีหัวข้อนำเสนอว่า “ตารางที่ 4 จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วย โรคฟันผุ จำแนกตามช่วงอายุ จังหวัดระยอง” จะพบว่ามีเพียงการอธิบายตามหลักการพรรณนาการกระจายโรค/อบส. ตามข้อใด? อะไร เท่าไร อะไร ใคร เมื่อไร อะไร ใคร ที่ไหน ใคร ที่ไหน เท่าไร 8

9.รูปแบบการกระจายของโรค/อบส. ข้อใดไม่ถูกต้อง? แบบประปราย Sporadic = นานๆพบ1-2 รายในพื้นที่นั้นๆ แบบประจำถิ่น Endemic = พบจำนวนเดิมๆ ที่เคยเกิด ในพื้นที่และระยะเวลาเดียวกันนั้นๆ แบบแพร่ระบาดEpidemic = มีจำนวนมากกว่าเดิม. คือ>X+2sd.ในพื้นที่และในระยะเวลาเดียวกันนั้น แบบแพร่ระบาดเฉพาะกลุ่ม Out-break พบเฉพาะโรคติดเชื้อเท่านั้น ‘’

10.รูปแบบของการกระจายโรคกับโรค/อบส.ในข้อใด ถูกต้อง? Endemic:เครื่องบินโดยสารตกในเยอรมัน;ตึกถล่มWT Out–break: ไข้หวัดในไทย ; ท้องเสียใน จ.เพชรบูรณ์ Sporadic : คนงานเหมืองถล่มในประเทศจีน; 33คนติดในเหมืองถล่มในชิลี Pandemic : SARs , H1N1-2009 ‘’

11. ประโยชน์ที่จะเกิดได้จากผลการพรรณนาการกระจายของโรค/อบส 11. ประโยชน์ที่จะเกิดได้จากผลการพรรณนาการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ข้อใดผิด ? เมื่อเรามีข้อมูล เพียงพอที่นำมาใช้บรรยายหรืออธิบาย ได้ ถูกต้อง ครอบคลุม ต่อเนื่อง ยาวนานพอควร เมื่อมีระบบรายงาน จัดเก็บ - รวบรวม -วิเคราะห์ข้อมูล –นำเสนอ(รายงาน)ที่ดี เมื่อรู้เดียงสา ได้ข้อมูล จากข่าวด่วน ก็เป็นข้อมูลที่เพียงพอแล้ว เราอยู่ในพื้นที่ต่อเนื่องยาวนานพอควรและเป็นผู้ชอบเก็บรวบรวมและนำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำเสนอ แ

12.ประโยชน์ที่ได้ทราบการกระจายของโรค/อบส.ข้อใดผิด? รู้สาเหตุการแพร่กระจายหรือทางติดต่อของโรคที่เกิดในชุมชน รู้ว่าโรคฟันผุจะมาซ้ำในรอบเวลาใด รู้พื้นที่ที่รับผิดชอบว่าจะเกิดโรคใด เมื่อไร ใช้วางแผนกำลังคน เทคโนโลยี และดำเนินการป้องกันโรคได้ถูกกลุ่มประชากรเป้าหมาย d

13. โดยสรุป เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส 13.โดยสรุป เราต้องอธิบายการกระจายของโรค/อบส.ในชุมชน ตามหลักวิทยาการระบาดที่ถูกต้อง คือ? เขียนตอบ ในด้านหลังกระดาษคำตอบ ในเวลา 3 นาที

การกระจายในประเด็นใด จ่ายแต่ละเดือน (พค. 52-เม.ย. 53) จ่ายแต่ละสัปดาห์(ทั้ง52-53) สถานที่ใช้จ่าย ๓ เดือนไม่ติดกัน ใช้จ่ายเพื่อ -อาหาร -เสื้อผ้า - เสริมสวย –สื่อสารและ เทคโนโลยี -การศึกษาเล่าเรียน –สันทนาการ –อื่นๆ ทั้งหมดทั้งปี ในแต่ละเดือน

ขั้นตอนการหาความรู้ (ทางระบาดวิทยา) นิยาม(ของปัญหา) ขนาด และ ความรุนแรง บุคคล, เวลา, สถานที่ Host, Agent, Environment + กระบวนการเกิดปัญหา ระบาดวิทยาเชิงบรรยาย ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ ระบาดวิทยาเชิงวิจัย