รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
1. สเกลเทอร์โมมิเตอร์ ขั้นตอนการทดลอง น้ำกลั่น
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
บรรจุภัณฑ์อาหารเบื้องต้น
การเขียนรายงานการทดลอง
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Mathematical Statement of the Problem
การขนส่งผักและผลไม้.
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
พลังงานภายในระบบ.
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
Power measurement Air compressor.
(Internal energy of system)
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
1. แนวความคิดในการศึกษา
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
Department of Food Engineering
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา 2302115 ภาคต้น ปีการศึกษา 2556 ความดันไอและความร้อนแฝงของการเกิดไอของน้ำ (Vapor Pressure & Latent Heat of Vaporization of Water) รหัสวิชา 2302115 ภาคต้น ปีการศึกษา 2556

ความรู้ก่อนทดลอง H2O(l) + ΔHvap  H2O(g) 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ความรู้ก่อนทดลอง H2O(l) + ΔHvap  H2O(g)

Vaporization and Condensation 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ Vaporization and Condensation Hg barometer ความดันไอที่ภาวะสมดุล (equilibrium vapor pressure)

2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ Vapor pressure

Clausius–Clapeyron relation 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ความดันไอของของเหลวสัมพันธ์กับอุณหภูมิ ตาม Clapeyron equation Rudolf Clausius Benoît Paul Émile Clapeyron 1834 T = อุณหภูมิในหน่วย Kelvin (K) V = Vvap–Vliq Vvap = ปริมาตรของไอ Vliq = ปริมาตรของของเหลว Vvap >>> Vliq Hvap = ความร้อนแฝงของการเกิดไอ Clausius–Clapeyron relation dP = ΔHvap dT T ΔV

เมื่อพิจารณาว่า ไอ เป็น ideal gas 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ Vvap = nRT P เมื่อพิจารณาว่า ไอ เป็น ideal gas (2) dP = ΔHvap dT T ΔV dP = ΔHvap P dT nRT2 n = 1 mole integrate dP = ΔHvap dT P nRT2 logP = -ΔHvap + C 2.303 RT Hvap มีค่าคงที่ในช่วงอุณหภูมิที่กำหนดให้ เมื่อ C = ค่าคงที่

เมื่อพิจารณาที่ T1 ซึ่งมี P1 เมื่อพิจารณาที่ T2 ซึ่งมี P2 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ logP = -ΔHvap + C 2.303 RT เมื่อ C = ค่าคงที่ เมื่อพิจารณาที่ T1 ซึ่งมี P1 logP1 = -ΔHvap + C 2.303 RT1 เมื่อพิจารณาที่ T2 ซึ่งมี P2 logP2 = -ΔHvap + C 2.303 RT2 log P2 = -ΔHvap P1 2.303 R 1 1 + T2 T1

ความร้อนแฝงของการเกิดไอ (Latent Heat of Vaporization) 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ความร้อนแฝงของการเกิดไอ (Latent Heat of Vaporization) ΔHvap Ethanol 846 kJ/kg Acetic acid 402 kJ/kg Water 2257 kJ/kg Freon R-11 180 kJ/kg 1 kJ/kg = 0.43 Btu/lbm = 0.24 kcal/kg)

นิสิตเข้าปฏิบัติการ แต่งกายรัดกุม และคำนึงถึงความปลอดภัยแล้วหรือยัง 2302115 Gen Chem Lab I ปีการศึกษา 2553 นิสิตเข้าปฏิบัติการ แต่งกายรัดกุม และคำนึงถึงความปลอดภัยแล้วหรือยัง แว่นตานิรภัย เสื้อกาวน์ ติดป้ายชื่อตัวใหญ่ๆ

2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ กิจกรรมวันนี้

1. บรรจุน้ำกลั่นในบีกเกอร์ 2. บรรจุน้ำกลั่นให้เต็มหลอด 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ฝึกอ่านสเกลบนหลอดก่อนบรรจุน้ำ 1. บรรจุน้ำกลั่นในบีกเกอร์ 2. บรรจุน้ำกลั่นให้เต็มหลอด ระวังฟองอากาศ

2. คว่ำหลอดที่บรรจุน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ระดับน้ำต้องท่วมหลอด 2. คว่ำหลอดที่บรรจุน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์

ความดันภายนอก = ความดันภายในหลอด Patm = Pair + Pwater = 1.00 atm 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ส่วนที่เป็นอากาศ 3. ปรับอากาศในหลอดให้ได้ 1.50-2.00 mL โดยใช้หลอดหยด บีบอากาศเข้าไป ความดันภายนอก = ความดันภายในหลอด Patm = Pair + Pwater = 1.00 atm

4. จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงในบีกเกอร์ 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 4. จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงในบีกเกอร์

บันทึกอุณหภูมิและปริมาตรอากาศในหลอด (ตอนที่ 2) 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 5. ค่อยๆเติมน้ำแข็งพร้อมดูดน้ำออก และใช้แท่งแก้วคนเบาๆ จนอุณหภูมิใกล้เคียง 5 oC บันทึกอุณหภูมิและปริมาตรอากาศในหลอด (ตอนที่ 2) Pwater = 0 atm Patm = Pair = 1.00 atm

อย่าลืม วัดความดันอากาศภายนอกจากบารอมิเตอร์ (Patm) 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 6. ค่อยๆ ต้มน้ำในบีกเกอร์ให้ร้อนขึ้น และใช้แท่งแก้วคนเบาๆ จนอุณหภูมิใกล้เคียง 50 oC บันทึกอุณหภูมิและปริมาตรอากาศในหลอด (ตอนที่ 1) ต้มน้ำในบีกเกอร์ให้ร้อนขึ้นไปเรื่อยๆ พร้อมใช้แท่งแก้วคนเบาๆ บันทึกอุณหภูมิและปริมาตรอากาศในหลอด ที่อุณหภูมิ 55 – 80 oC อย่างน้อย 5 จุด อย่าลืม วัดความดันอากาศภายนอกจากบารอมิเตอร์ (Patm)

การคำนวณและการสร้างกราฟ 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ การคำนวณและการสร้างกราฟ 1. หาจำนวน mol ของ Air ที่อยู่ในหลอด (nair ) ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 50c assume ว่า Pwater = 0 atm Patm = Pair = 1.00 atm nair = Pair@T0 V0 RT0 nair = Patm V0 RT0 จะได้

2. หา Pair@T1 ที่อยู่ในหลอดที่อุณหภูมิ T1 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 2. หา Pair@T1 ที่อยู่ในหลอดที่อุณหภูมิ T1 (อยู่ในช่วง 50 – 80 oC) ที่อุณหภูมิ T1 วัดปริมาตรได้ V1 Pair@T1 = nair RT1 V1 nair = Patm V0 RT0 แทนค่า V1 ที่อุณหภูมิ T1 วัดปริมาตรได้ V1 Pair@T1 = Patm V0 RT1 = Patm V0T1 RT0 V1T0

3. หา Pwater@T1 ที่อยู่ในหลอดที่อุณหภูมิ T1 (อยู่ในช่วง 50 – 80 oC) 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 3. หา Pwater@T1 ที่อยู่ในหลอดที่อุณหภูมิ T1 (อยู่ในช่วง 50 – 80 oC) ที่อุณหภูมิ T1 Patm = Pair @T1 + Pwater@T1 = 1.00 atm Pwater@T1 = 1.00 atm – Pair@T1 นำมาสร้างข้อมูล logPwater@T1 4. สรุปจะได้ข้อมูล T1 , Pwater@T1 กับ 1 T1 logP1 = -ΔHvap + C 2.303 RT1 เพื่อเขียนกราฟ

ตารางบันทึกผลการทดลอง 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ตารางบันทึกผลการทดลอง อุณหภูมิ (°C) V (mL) T (K) Pair (atm) Pwater (atm) logPwater 1/T (K-1) 80.0 75.0 70.0 65.0 60.0 55.0 50.0 5.0 + 273.0

และ....อื่นๆที่ผู้เรียนอยากจะบอกผู้สอน 2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ต้องการ) หัวข้อ ผลการเรียนรู้ที่ได้ มาก ปานกลาง น้อย ไม่ได้เลย 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดัน/ปริมาตร/จำนวนโมล/และอุณหภูมิได้ตามกฎของแก๊สในอุดมคติ 2. แสดงวิธีการหาความดันไอของน้ำจากการทดลอง 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของน้ำกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงได้ตามสมการของ Clausius-Clapeyron 4. คำนวณหา ΔHvapของน้ำ 5. ยกตัวอย่างการนำค่า ΔHvap มาใช้ประโยชน์ และ....อื่นๆที่ผู้เรียนอยากจะบอกผู้สอน

2302115 Gen Chem Lab I : การทดลองที่ 5 ความดันไอและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ