รายงานการฝึกงานทางสัตวศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
การจัดการความรู้ KM อำเภอเสนางคนิคม.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ผลปฏิบัติงานในรอบ TOR 2/60 กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โต้วาทีอุดมศึกษา ญัตติ “มนุษย์แสนดีเลิศประเสริฐศรี”
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
หมวด 4 การจัดการของเสียในสำนักงาน
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ศาสนาเชน Jainism.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
คำถามที่ 21 อุปกรณ์ที่เป็นโลหะยาว ๆ นี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการฝึกงานทางสัตวศาสตร์ สถานที่ฝึกงาน : น้ำฝนฟาร์ม โดย นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ห้างหุ้นส่วนน้ำฝนฟาร์มจำกัด ที่ตั้ง : 16 ม. 2 ต.แสลงพัน อ.วังม่วง จ.สระบุรี 18220 เจ้าของฟาร์ม : หม่อมหลวงประกฤติ สุขสวัสดิ์ ผู้จัดการฟาร์ม : นายสัตวแพทย์สมศักดิ์ ศรีซ่องเชษฐ์ : นายสัตวแพทย์ประกิต กอบกิจวัฒนา ประเภทธุรกิจ : ฟาร์มโคนม ผลผลิต : น้ำนมดิบและโคสาวท้องส่งนอก

หมวดลูกโค

หมวดลูกโค การจัดการลูกโค ลูกโคที่อายุ 0-7 วัน ขังกรงรวม ให้กินนมน้ำเหลือง ลูกโคที่อายุ 8-15 วัน ขังกรงเดี่ยว ให้กินนมธรรมดา ให้อาหารข้น ให้น้ำ ทำการสูญเขา สักเบอร์หู ติดเบอร์หู ลูกโคที่อายุ 16-45 วัน ขังกรงรวม ให้นมธรรมดา ให้อาหารข้นเพิ่มมากขึ้น มีอ่างน้ำให้กินตลอดเวลา

หมวดลูกโค ลูกโคที่อายุ 46-60 วัน ขังกรงรวม หย่านม ให้อาหารข้นและหญ้าสด มีอ่างน้ำให้กินตลอดเวลา ลูกโคที่อายุ 60 วันขึ้นไป ชั่งน้ำหนักโดยสายวัดน้ำหนัก กรอกยาถ่ายพยาธิ อัตรา 1:10 หรือ 1 cc. / 10 kg. ส่งลูกโคมายังคอนโดลูกโคหย่านม

ขั้นตอนการสูญเขาลูกโค - ผสมปูนแดงกับโซดาไฟ ด้วยอัตรา 2:1 คนให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียว - ตัดขนบริเวณเขาทั้งสองข้างที่กำลังจะงอกขึ้นมา - จับลูกโคให้แน่นแล้วป้ายยาที่ผสมไว้ตรงบริเวณที่ตัดขนทั้งสองข้างระวังอย่าให้โดนผิวหนัง ถ้าโดนควรรีบล้างออกด้วนน้ำเปล่า -ป้ายยาเสร็จปล่อยลูกโค สังเกตในวันถัดไปว่าเขายุบลงหรือไม่ ถ้ายังป้ายยาอีกรอบ

หมวดโครุ่นโคสาว

หมวดโครุ่นโคสาว ข้อปฏิบัติในคอกโครุ่น - พ่นยาฆ่าแมลง 2 ครั้ง/เดือน ครั้งที่ 1 ทุกวันที่ 10-12 วันละ 3 คอก ครั้งที่ 2 - ทุกวันที่ 23-25 วันละ 3 คอก - ฉีดสเปรย์ฆ่าเชื้อทุกคอกวันเว้นวัน

หมวดโครุ่นโคสาว - ฉีดวัคซีนปากและเท้าเปื่อยปีละ 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ฉีดเดือนกุมภาพันธ์ ครั้งที่ 2 ฉีดเดือนมิถุนายน ครั้งที่ 3 ฉีดเดือนตุลาคม - ชั่งน้ำหนักโคทุกวันที่ 27-29 วันละ 3 คอก - คัดโคอายุ 15 เดือน น้ำหนัก 280 กิโลกรัม เพื่อนำไปผสมเทียม

หมวดโครีดนม

หมวดโครีดนม หมวดโรงรีดนม เป็นหมวดที่เกี่ยวข้องกับโคที่รีดนม โคใกล้คลอด และโคป่วยโดยมีจำนวนโคอยู่ประมาณ 828 ตัว มีทั้งหมด 8 คอก คอกที่ 1 คือ โคใกล้คลอด โดยจะมีการคัดโคท้องแก่มาล็อคที่ 1 ตลอด คอกที่ 2 คือ โครีดนมน้ำเหลือง, โคที่เป็นโรคเต้านมอักเสบ และโคนมมาก คอกที่ 3 – คอกที่ 6 คือ โครีดนม คอกที่ 7 คือ โคนมน้อย คอกที่ 9 คือ โคป่วย (ขาเจ็บ)

หมวดโครีดนม ขั้นตอนการเตรียมโครอคลอด วันที่ 1 ของทุกเดือน เช็คเต้านม จุ่มหัวนม ฉีด Imisol ตัวละ 6 cc. เข้ากล้ามเนื้อ ฉีด ADE ตัวละ 5 cc. เข้ากล้ามเนื้อ ฉีด E Se (เวทีเชล) ตัวละ 10 cc. เข้ากล้ามเนื้อ

หมวดโครีดนม ขั้นตอนการเตรียมโครอคลอด วันที่ 15 ของทุกเดือน เช็คเต้านม จุ่มหัวนม ฉีดวิตามิน A D E ตัวละ 5 cc. เข้ากล้ามเนื้อ ฉีด E Se (เวทีเชล) ตัวละ 10 cc. เข้ากล้ามเนื้อ

ข้อปฏิบัติในคอกโครีดนม 1. พ่นยาฆ่าแมลง 2 ครั้ง/เดือน ครั้งที่ 1 ทุกวันที่ 5 – 7 วันละ 3 คอก ครั้งที่ 2 ทุกวันที่ 20 – 22 วันละ 3 คอก 2. สเปรย์ยาฆ่าเชื้อทุกคอกวันเว้นวัน 3. ฉีดวัคซีนปากและเท้าเปื่อยปีละ 3 ครั้ง

ข้อปฏิบัติในคอกโครีดนม 4. ตรวจท้องซ้ำเดือนละครั้ง 5. ชั่งน้ำหนักโคทุกวันที่ 27 – 29 วันละ 3 คอก 6. เช็คเต้านมโคแห้งนมใหม่ทุก 7 วัน

หมวดโคแห้งนม

หมวดโคแห้งนม ปัจจุบันสำหรับหมวดนี้มีทั้งโคสาวและโคดราย โดยแบ่งเป็น คอกที่ 1 ,2,3 คอกโคสาวท้อง คอกที่ 4,5,6,7 คอกโคสาวรอผสม คอกที่ 8,9,10,11,12 คอกโคดรายท้อง คอกที่ 13 คอกโคดรายไม่ท้อง (จึงใช้ตัวผู้ในการผสมพันธุ์)

หมวดโคแห้งนม การแห้งนมโคหรือการรีดนมโคมีหลายสาเหตุด้วยกันดังนี้ 1. การดรายโคก่อนคลอดประมาณ 2 เดือน(ก่อนดรายจะทำการล้วงตรวจท้องก่อนทุกครั้ง) 2. การดรายโคเมื่อพบว่าโคให้น้ำนมปริมาณน้อยไม่คุ้มทุน 3. การดรายโคเนื่องจากโคป่วย

หมวดโรงรีดนม

ขั้นตอนการรีดนม 1. การเตรียมตัวและระบบก่อนการรีดนม จะมีการทำความสะอาดระบบรีดก่อน 30 นาที 2. การเตรียมตัวคนรีด ในหลุมรีดจะมีคนงานประมาณ 4-5 คน คนรีดต้องเตรียมผ้าเช็ดเต้านม ขวดน้ำยาจุ่มเต้านมก่อนและหลังรีด ถังใส่น้ำผสมคลอรีน จุกยางอุดหัวรีดในกรณีที่วัวป่วยเป็นเต้านมอักเสบ

ขั้นตอนการรีดนม 3. การรีดนม ต้อนวัวเข้าซองรีดประมาณ 23-27 ตัว คนรีดจะจุ่มน้ำยาจุ่มเต้า ที่เจือจางในอัตราส่วน 1:6 แล้วใช้ผ้าเช็ดเต้านมให้สะอาด ใช้strip cup test ตรวจดูเต้านมอักเสบ แล้วหลังจากนั้นสวมชุดรีดเข้าเต้านมเมื่อรีดเสร็จจุ่มน้ำยาหลังรีดเสร็จอีกครั้ง 4. การทำความสะอาด คือจะทำความสะอาดบริเวณหลุมรีดและส่วนหัวรีดนมหลังการใช้งานเสร็จ

ผลผลิตของฟาร์ม น้ำฝนฟาร์มจะส่งนมวันละ 1 ครั้ง ส่งนมได้ประมาณ 10 ตัน ราคาน้ำนมกิโลกรัมละ17 บาท โดยปัจจุบันมีอยู่ 3 บริษัทที่เราส่งนม คือ -พรีเมียร์ (ทำชีสต์) โดยการส่งต้องมีเปอร์เซ็นต์ไขมัน 3.5 ขึ้นไป -เอบิโก้ โดยการส่งต้องมีเปอร์เซ็นต์ไขมัน 3.2 -ทรีดี โดยการส่งต้องมีเปอร์เซ็นต์ไขมัน 3.4-3.5

หมวดโรงอาหารสัตว์

หมวดโรงอาหารสัตว์ - อาหารข้น หมายถึง อาหารที่มีความเข้มข้นทางโภชนะอยู่สูง โดยเฉพาะโปรตีน มีเปอร์เซนต์เยื่อใยต่ำ เมื่อสัตว์กินเข้าไปสามารถย่อยได้ง่าย - อาหาร TMR หรืออาหารผสมสำเร็จรูปที่ผลิตขึ้นมาจากการนำอาหารหยาบ และอาหารข้นมาผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสม

ประโยชน์ของอาหาร TMR  อาหาร TMR มีโภชนะต่างๆ เพียงพอตามความต้องการของสัตว์ การให้อาหารแบบนี้จะเป็นวิธีที่ง่ายต่อการจัดการประหยัดเวลา และแรงงาน ซึ่งโคจะได้รับโภชนะครบถ้วน และมีสัดส่วนสม่ำเสมอตามความต้องการของโคความเป็นกรด-ด่าง ในกระเพาะรูเมนมีสภาพเหมาะสม ใช้อาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น  ทำให้การดูดซึมอาหารไปใช้ประโยชน์ในร่างกายดีขึ้น 

หมวดสัตวแพทย์ – ผสมเทียม

เทคนิคการจับสัด โคที่เป็นสัดคือโคที่มีความสมบูรณพันธุ์ เพื่อที่จะพร้อมผสมพันธุ์ โดยมีวิธีการดูอาการโคที่เป็นสัดดังนี้ ทางกายภาพ อวัยวะเพศบวมแดง มีเมือกไหลเยิ้ม มีรอยถลอกบริเวณบั้นท้าย คอมดลูกมีการแข็งตัว ปากมดลูกเปิดเล็กน้อย

เทคนิคการจับสัด ทางพฤติกรรมกระวนการวาย ร้องบ่อย สนใจโคตัวอื่น กินอาหารน้อยลง ช่วงต้นจะไล่ปีนโคตัวอื่น ยืนนิ่งยอมรับให้ตัวอื่นขึ้น (Standing Heat) ซึ่งกฎ AM, PM ของการผสมคือหากเป็นสัดตอนเช้าให้ผสมตอนเย็น หากเป็นสัดตอนบ่ายให้มาผสมช่วงเที่ยงคืนอีกวัน โดยชั่วโมงที่ 12-18 เหมาะแก่การผสมเทียมที่สุด

ขั้นตอนการผสมเทียม 1. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม 2. ตรวจดูแม่โคว่าเป็นสัดจริงหรือไม่ (เช็คจากประวัติ) 3. ละลายหลอดน้ำเชื้อในน้ำอุ่นอุณหภูมิ 37 องศา 30 วินาที 4. เช็ดหลอดน้ำเชื้อด้วยผ้าสะอาดให้แห้งอย่างรวดเร็วที่สุด 5. นำหลอดน้ำเชื้อใส่ใน Breeding Gun

ขั้นตอนการผสมเทียม 6. ตัดปลายด้านที่มีฟองอากาศด้วยกรรไกรที่คม 7. สวมพสาสติกชีสลงแล้วตามด้วยสวมเดิบเบิ้ลชีสไปที่ปืนก่อนจะสอดเข้าผสมเทียม เพื่อป้องกันการติดเชื้อ แล้วล็อคให้แน่น 8. สอดปืนผสมเทียม โดยใช้มืออีกข้างหนึ่งกำ cervix ให้แน่น ก่อนจะปล่อยน้ำเชื้อที่มดลูก

ภาคผนวก

ขอบคุณครับ/ค่ะ