งานระบบท่อระบายน้ำ PBA TEEM
สมาชิก คุณวรพันธ์ บัวพูล ที่ปรึกษา 1. คุณพุทฒิ ทวีศักดิ์ วิศวกรโครงการ 2. คุณสุรชัย สุขเมตตา เจ้าหน้าที่เทคนิค 3. คุณรัตติกรณ์ วิลัยปาน ผจก.ส่วนงานบริการ 4. คุณอัถจักร ประสิทธิวงศ์ วิศวกรบริการ 5. คุณนพดล ธีระพรณรงค์ ผจก. บริษัท วีวีดับบลิว 6. คุณคำแหง พอสินธุ์ ผจก. โครงการ บริษัท วีวีดับบลิว 7. คุณทองใส ทำบุญ ผช.โครงการ บริษัท วีวีดับบลิว 8. คุณพุธ กุลสุวรรณ QF 9. คุณสรายุทธ พุฒพ่วง QF 10. คุณใหม่ หัวหน้าช่าง 11 คุณชู หัวหน้าช่าง
ประเด็นปัญหา มีเศษวัสดุในเส้นท่อระหว่างงานก่อสร้าง จึงเป็นเหตุให้การระบายน้ำในตัวอาคารไม่ดีเท่าที่ควร
วัตถุประสงค์ ขอบเขตการทำงาน เพื่อป้องกันปัญหาของการระบายน้ำในอนาคต เพื่อเสริมสร้างมาตรฐานการทำงานที่ถูกต้อง ขอบเขตการทำงาน ทำการศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขการระบายน้ำจากตัวบ้านจนกระทั่งลงท่อระบายน้ำสาธารณะ ในแปลง G15-G21,H17-H22,Q13-Q16,S9-12 จำนวนทั้งสิ้น 21 แปลง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถเพิ่มศักยภาพการทำงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ช่าง, QF, FM การระบายน้ำในตัวบ้านถูกต้องตามมาตรฐานและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
แนวทางการทำงาน ทำการประชุมพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และหาสาเหตุของปัญหา (Plan) หาแนวทางการแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี จัดทำคู่มือการตรวจงาน (Plan) เพิ่มความรู้และหลักการทำงานอย่างถูกวิธีให้แก่ช่าง (Do) ให้ช่างลงมือทำงานในภาคปฏิบัติ (Do) ติดตามการทำงานอย่างใกล้ชิด โดยใช้คู่มือการตรวจสอบงาน (Check) สรุปและประเมินผลการทำงาน หาจุดด้อยแล้วนำมาปรับปรุง (Action)
แนวทางการทำงาน สาเหตุ-แนวทางแก้ไข Train,Doing ตรวจสอบโดยใช้คู่มือ ประเมิน-ปรับปรุง
แผนการดำเนินงาน
แปลงที่ทำ TQM ระบบท่อระบายน้ำ
หลักเกณฑ์การตรวจวัด ใช้เกณฑ์มาตรฐานงาน QC ตรวจวัด เก็บสถิติการตรวจงานท่อระบายน้ำในหมวด 6 โดยใช้ลูกปิงปอง 3 ฝา ทดสอบชักโครกและฝาขาดน้ำพลาสติกทดสอบ Floor Drain กับ ท่อน้ำทิ้งเครื่องซักผ้า แล้วบันทึกลง Zero Deflec เก็บบันทึกผลการทำงานระบบท่อระบายน้ำต้องไม่รั่ว-ไม่ตัน เกิน 3 หลัง ของ 39 หลัง
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 สรุปปัญหาและ หาสาเหตุ (คุณพุทฒิ ผู้รับผิดชอบ) Team PBA ทำการประชุม สรุปประเด็นปัญหา และสาเหตุได้ดังนี้ ปัญหา สาเหตุของปัญหา ท่อน้ำทิ้งตัน มีเศษวัสดุอุดตันในเส้นท่อ ท่อน้ำทิ้งไหลไม่สะดวก ท่อไม่ได้ Slope ถังไบไอโทนไม่ได้ระดับ ช่างขาดความรู้และความเข้าใจ ระดับบ่อพักและการเก็บปูนรอบท่อ
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 แนวทางการแก้ปัญหา และคู่มือตรวจสอบงาน (คุณพุทฒิ ผู้รับผิดชอบ) ปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ไข คู่มือตรวจสอบ ท่อน้ำทิ้งตัน มีเศษวัสดุอุดตันในเส้นท่อ เพิ่มความรู้และแนวทางการทำงานที่ถูกต้อง Request ท่อน้ำทิ้งไหลไม่สะดวก ท่อไม่ได้ Slope ถังไบไอโทนไม่ได้ระดับ ช่างขาดความรู้และความเข้าใจ ระดับบ่อพักและการเก็บปูนรอบท่อ 15 รายการ
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3 เพิ่มความรู้และหลักการทำงานอย่างถูกวิธีให้แก่ช่าง (คุณสุระชัย,คุณสรายุทธ)
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3 เพิ่มความรู้และหลักการทำงานอย่างถูกวิธีให้แก่ช่าง (ต่อ) (คุณสุระชัย,คุณสรายุทธ)
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 4 ให้ช่างลงมือทำงานในภาคปฏิบัติ (คุณสุระชัย,คุณสรายุทธ) ขั้นตอนที่ 5 ติดตามการทำงานอย่างใกล้ชิด โดยใช้คู่มือการตรวจสอบงาน (คุณสุระชัย,คุณสรายุทธ) ขั้นตอนที่ 6 สรุปและประเมินผลการทำงาน หาจุดด้อยแล้วนำมาปรับปรุง
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 6 สรุปและประเมินผลการทำงาน หาจุดด้อยแล้วนำมาปรับปรุง (คุณพุทฒิ)
ผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 1. ช่างลงถังไปโอโทน + ลงท่อบ่อพัก หลังจากฝึกอบรมเพิ่มทักษะการทำงานที่ถูกต้อง ช่างสามารถนำไปใช้ได้จริง งานที่ออกมาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
ผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน (ต่อ) 2. ช่างประปา ระหว่างการทำงานมีการใส่ปลั๊กอุดท่อ หรือพับปลายท่อในตำแหน่งต่างๆ เพื่อป้องกันเศษวัสดุหล่นลงไปในเส้นท่อ
ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบและต้องปรับปรุง (ช่างประปา) ปัญหา แนวทางแก้ไข ช่างไม่พกแบบ ปรับปรุงลักษณะนิสัยและ ทัศนคติของช่างใหม่ เครื่องมือไม่ครบ ทำการศึกษาเครื่องมือที่ช่างประปาต้องใช้ว่ามีอะไรบ้าง ระบุให้ครบ และจัดหาให้ช่าง
ผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 3. ช่างปูกระเบื้อง ก่อนที่จะทำ TQM มักจะมีเศษกระเบื้องหรือเศษขี้ปูน อุดตันอยู่ที่ท่อน้ำทิ้ง หลังจากที่ทำการอบรมเรียนรู้วิธีการทำงานที่ถูกต้องปัญหาท่อน้ำตันลดลงอย่างได้ชัด เนื่องจากช่างปูกระเบื้องเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นตามหลัง
ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบและต้องปรับปรุง (ช่างปูกระเบื้อง) ปัญหา ความสะอาดในท่อน้ำดี สาเหตุ น้ำปูนจากการปูกระเบื้อง แนวทางการแก้ไข จัดทำเครื่องมือทำความสะอาดท่อ และให้ทำทันทีหลังจากปูกระเบื้องเสร็จ
Coming Soon