ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

บทที่ 4 PHP with Database
คอมพิวเตอร์ computer หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Distributed Administration
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
Software.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ภาษา SQL (Structured Query Language)
ซอฟต์แวร์.
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Surachai Wachirahatthapong
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
Operating System ฉ NASA 4.
MySQL.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
กระบวนการทำงานและบุคลากร
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
Software ซอฟต์แวร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ระบบฐานข้อมูล.
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
SOFTWARE.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย กลุ่มที่ 4 DDBMS ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย สมาชิก 1. นายศราวุธ แจ้งสุข 2. นายภาณุมาศ บุตรสีผา 3. นายประดิษฐ์ สมจันทร์

DDBMS

ความหมายของ DDBMS DBMS    ย่อมาจาก Database Management System DB คือ Database หมายถึง ฐานข้อมูล M คือ Management หมายถึง การจัดการ S คือ System หมายถึง ระบบ DBMS คือ ระบบการจัดการฐานข้อมูล หรือซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล โดยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั้งในด้านการสร้าง การปรับปรุงแก้ไข การเข้าถึงข้อมูล และการจัดการเกี่ยวกับระบบแฟ้มข้อมูลทางกายภาพ ภายในฐานข้อมูลซึ่งต่างไปจากระบบแฟ้มข้อมูลคือ หน้าที่เหล่านี้จะเป็นของโปรแกรมเมอร์ ในการติดต่อฐานข้อมูลไม่ว่าจะด้วยการใช้คำสั่งในกลุ่ม DML หรือ DDL หรือ จะด้วยโปรแกรมต่างๆ ทุกคำสั่งที่ใช้กระทำกับฐานข้อมูลจะถูกโปรแกรม DBMS นำมาแปล (Compile) เป็นการกระทำต่างๆภายใต้คำสั่งนั้นๆ เพื่อนำไปกระทำกับตัวข้อมูลใน ฐานข้อมูลต่อไป 

หน้าที่ของ DBMS 1.) ทำหน้าที่แปลงคำสั่งที่ใช้จัดการกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ข้อมูลเข้าใจ 2.) ทำหน้าที่ในการนำคำสั่งต่างๆ ซึ่งได้รับการแปลแล้วไปสั่งให้ฐานข้อมูลทำงาน เช่น การเรียกใช้ข้อมูล (Retrieve) การจัดเก็บข้อมูล (Update) การลบข้อมูล (Delete) หรือ การเพิ่มข้อมูลเป็นต้น (Add) ฯลฯ 3.) ทำหน้าที่ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล โดยจะคอยตรวจสอบว่าคำสั่งใดที่สามารถทำงานได้และคำสั่งใดที่ไม่สามารถทำได้ 4.) ทำหน้าที่รักษาความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้มีความถูกต้องอยู่เสมอ 5.) ทำหน้าที่เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลไว้ใน Data dictionary ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า "ข้อมูลของข้อมูล" (Meta Data) 6.) ทำหน้าที่ควบคุมให้ฐานข้อมูลทำงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย  ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย   สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ 1. Homogeneous DDBMS   2. Heterogeneous DDBMS

ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย  ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย 1. Homogeneous DDBMS  เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจายที่ทุก ๆ ไซต์ใช้ผลิตภัณฑ์ DBMS เดียวกัน ทำให้รูปแบบข้อมูลของฐานข้อมูลในแต่ละไซต์มีรูปแบบเดียวกันส่งผลให้การออกแบบและการจัดการมีความสะดวกและง่าย เช่น หากองค์กรเลือกใช้ Oracle ดังนั้นทุกๆ สาขาขององค์กรนั้นก็จะใช้ Oracle ด้วยเช่นกัน วิธีนี้เหมาะสมกับการนำไปใช้กับองค์การที่เพิ่งเริ่มต้นการใช้งานกับการจัดการฐานข้อมูล

ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย  ประเภทของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย 2. Heterogeneous DDBMS   เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบกระจายที่ไซต์บางไซต์อาจจะใช้ DBMS คนละตัวกัน รวมถึงใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันซึ่งเป็นไปได้ว่าในแต่ละไซต์นั้นได้มีการพัฒนาฐานข้อมูลไว้ใช้งานของตนเอง วิธีนี้อาจทำให้มีความแตกต่างกันทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ใช้ (DBMS) ดังนั้นจึงส่งผลให้แต่ละสาขาต่างก็มีฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมาในรูปแบบที่แตกต่างกันก่อให้เกิดปัญหาในด้านของการนำข้อมูลมารวมกัน (Integrated) จึงจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแปลงข้อมูลต่าง ๆ ที่เรียกว่า gateway เพื่อให้สามารถนำฐานข้อมูลในรูปแบบหนึ่งมาใช้งานกับฐานข้อมูลของตนได้ หรือใช้ API (Application Programming Interface) ของซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูล(DBMS) โดยผ่าน API ของ ODBC ช่วยทำให้เชื่อมโยงฐานข้อมูลที่ต่างแพล็ตฟอร์มของและ DMBS ต่างกัน ได้ เช่น MY-SQL Server สนับสนุนฐานข้อมูลแบบ Heterogeneous โดยไม่ว่าจะใช้ฐานข้อมูลของ ORACLE, DB2, Sybase, หรือ Access ก็สามารถทำงานร่วมกันได้โดยผ่าน ODBC Driver

ODBC (Open Database Connectivity)   เป็นมาตรฐานการเชื่อมโยงฐานข้อมูลแบบเปิดที่ทางบริษัทไมโครซอฟท์กำหนดขึ้น เพื่อให้โปรแกรมสามารถเชื่อมโยงและประสานกับผู้ใช้ เพื่อเข้าถึงข้อมูลเชิงสัมพันธ์ต่างผลิตภัณฑ์ได้โดยใช้ชุดคำสั่ง SQL ในการจัดการกับฐานข้อมูล

ประเภทของคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของ DBMS ชื่อ DBMS ประเภทของคอมพิวเตอร์ ภาษาจัดการข้อมูล DB2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ SQL, QBE dBASE IV ไมโครคอมพิวเตอร์ มีของตนเอง, SQL FoxBASE+ มีเป็นของตนเอง FoxPro มีเป็นของตนเอง, SQL IDMS IMS/VS CICS Ingres มินิคอมพิวเตอร์ SQL, QUEL

ประเภทของคอมพิวเตอร์ ซุปเปอร์มินิคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของ DBMS ชื่อ DBMS ประเภทของคอมพิวเตอร์ ภาษาจัดการข้อมูล Informix ซุปเปอร์มินิคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ SQL, QBE MS Access SQL, QBE MS SQL Server มินิคอมพิวเตอร์ MySQL SQL Oracle เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ PARADOX มีเป็นของตนเอง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มีความสัมพันธ์กัน ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทางทฤษฎีจะมีคำศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจำลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set) ดังนั้น เราจะมีคำศัพท์เฉพาะดังนี้ *******************รีเลชั่น (Relation)ตาราง (Table)ทูเปิล (Tuple)แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียนแอททริบิวท์ (Attribute)คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field)คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality)จำนวนแถว (Number of rows)ดีกรี (Degree)จำนวนแอททริบิวท์ (Number of attribute)คีย์หลัก (Primary key)ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier)โดเมน (Domain)ขอบข่ายของค่าของข้อมูล (Pool of legal values)*************