การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
Advertisements

คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที สาขาเลย
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
แผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( ) ประเด็น / มาตรการปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 การศึกษาการเปิดเสรีภาคบริการในสาขาอื่นๆ.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
SMS News Distribute Service
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 โครงการศึกษาเรื่องการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคม และการศึกษาผลกระทบเพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 ภารกิจโทรคมนาคม กลุ่มงานค่าธรรมเนียมและอัตราค่าบริการในกิจการโทรคมนาคม (นท.) 29 พฤศจิกายน 2556

ความเป็นมา ประเทศสมาชิก ASEAN ได้ตกลงกันในการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ในปี 2558 แผนแม่บทโทรคมนาคม ยุทธศาสตร์ 5.6 ด้านการเตรียมความพร้อมและการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ

วัตถุประสงค์โครงการ วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันของอุตสาหกรรม ICT และผลกระทบของเชิงนโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากที่ไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อจัดทำแผนการเตรียมความพร้อมของกิจการโทรคมนาคมเพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC โดย จัดทำวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายสำหรับภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ประเมินผลกระทบของการเปิดเสรีและทางเลือกของนโยบายและมาตรการต่างๆ เสนอนโยบาย กลยุทธ์ และมาตรการในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านกิจการโทรคมนาคม จัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนา ปรับปรุง หรือ ออกกฎระเบียบเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมเพื่อรองรับแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒๕๕๘

สรุปสถานะอุตสาหกรรม ICT ของประเทศไทย

Networked Readiness Index (NRI) 2 29 54 77 World ranking

ข้อได้เปรียบ ข้อได้เปรียบ 1. ราคาค่าบริการ 2. คุณภาพสัญญาณโทรศัพท์มือ 3. ระดับการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมค่อนข้างสูง 4. ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย มีความร่วมมือกับบริษัทชั้นนำของโลก 5. มีการใช้ประโยชน์จาก ICT ในด้านต่าง ๆ อย่างหลากหลาย

ราคาค่าบริการ Almost highest affordability Mobile 0.09 $/min Fixed BB 34.79 $/month

คุณภาพสัญญาณโทรศัพท์มือ 2G 3G Providers Signal Strength Dropped Call (65-76 tests) AIS 96.40% - 95.91% 2 times (2.86%) DTAC 99.48% 96.50% 13 times (18.57%) TRUE 99.84% 3 times (4.39%) 99.96% TOT 82.57% 6 times (8.57%)

ระดับการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมค่อนข้างสูง สถานภาพตลาดและการกำกับดูแลบริการโทรคมนาคมใน แต่ละประเทศสมาชิก AEC สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว พม่า Networked Readiness Index (อันดับโลก) 5.86 (2) 4.8 (29) 4.04 (54) 3.78 (77) 3.75 (80) 3.7 (83) 3.64 (86) 3.32 (108) N/A องค์กรกำกับกับดูแลด้านโทรคมนาคมหรือไอซีทีเป็นอิสระจากกระทรวงและผู้ประกอบการ เป็น ไม่เป็น สถานภาพของผู้ประกอบการหลัก ในบริการโทรศัพท์พื้นฐาน กึ่งรัฐ รัฐ กึ่ง-รัฐ เอกชน ระดับการแข่งขัน บริการสื่อสารระหว่างประเทศ (International Gateways) C P - M บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการอินเตอร์เน็ต  การถือครองธุรกิจโดยชาวต่างชาติ (อัตราส่วนที่อนุญาต) 100 30 49 35 40 49-100 มาตรการกำกับดูแลการสื่อสารทางเสียงผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือ VoIP (Voice over Internet Protocol) A No ที่มา: ผู้วิจัยรวบรวมโดยใช้ข้อมูลจาก International Telecommunication Union (ITU) และ World Bank ปี 2012 ข้อมูล Networked Readiness Index 2012 จาก WEF และ INSEAD

ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย มีความร่วมมือกับบริษัทชั้นนำของโลก 21.16% 42.61%

มีการใช้ประโยชน์จาก ICT ในด้านต่างๆ อย่างหลากหลาย ส่งผลต่อเศรษฐกิจ Fixed line Mobile Broad band Internet

ส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรฐกิจ

ข้อเสียเปรียบ ข้อเสียเปรียบ 1. การใช้ประโยชน์จาก ICT อยู่ในระดับต่ำ 2. คุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ต 3. ความครอบคลุมเชิงพื้นที่ 4. การใช้ e-Government ยังน้อย 5. ความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใสของการกำกับดูแล

การใช้ประโยชน์จาก ICT อยู่ในระดับต่ำ

คุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ต

คุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ต ประเทศ ความเร็วอัพโหลด Mbs ความเร็วดาวน์โหลด Mbs DL rank UL Rank สิงคโปร์ 17.99 32.78 7 เวียดนาม 8.52 11.72 46 23 ไทย 1.79 8.19 61 92 มาเลเซีย 3.54 4.45 91 อินโดนีเซีย 1.11 2.31 152 132

ความครอบคลุมเชิงพื้นที่

การใช้ e-Government ยังน้อย

ความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใส ของการกำกับดูแล Asia and Pacific TRGI index Asia Rank World Rank Singapore 0.63 1 10 Australia Malaysia 0.46 3 45 Samoa 0.45 4 54 Korea (Rep.) 0.44 5 59 India 0.42 6 68 Pakistan 0.41 7 72 Sri Lanka 0.4 8 78 Bangladesh 0.39 9 85 Philippines 0.38 90 Kyrgyzstan 0.36 11 96 New Zealand 0.35 12 98 Afghanistan 0.34 13 101 Mongolia 0.31 14 108 Nepal 0.29 15 112 Japan 0.28 16 114 Brunei Darussalam 0.27 17 116 Hong Kong 0.26 18 120 Indonesia 0.23 19 122 Thailand 0.11 20 128 Maldives 0.04 21 134 Selected Countries TRGI Index World Rank Norway 0.74 1 Germany 0.71 2 United Kingdom 0.65 7 Greece 0.58 17 South Africa 0.48 39 Brazil 0.46 45 Uganda 0.41 72 Mexico 0.35 101 Saudi Arabia 122 Burundi 0.12 126 Thailand 0.11 128 Iraq 140

ความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใส ของการกำกับดูแล Asia and Pacific TRGI index Asia Rank World Rank Singapore 0.63 1 10 Australia Malaysia 0.46 3 45 Samoa 0.45 4 54 Korea (Rep.) 0.44 5 59 India 0.42 6 68 Pakistan 0.41 7 72 Sri Lanka 0.4 8 78 Bangladesh 0.39 9 85 Philippines 0.38 90 Kyrgyzstan 0.36 11 96 New Zealand 0.35 12 98 Afghanistan 0.34 13 101 Mongolia 0.31 14 108 Nepal 0.29 15 112 Japan 0.28 16 114 Brunei Darussalam 0.27 17 116 Hong Kong 0.26 18 120 Indonesia 0.23 19 122 Thailand 0.11 20 128 Maldives 0.04 21 134 Selected Countries TRGI Index World Rank Norway 0.74 1 Germany 0.71 2 United Kingdom 0.65 7 Greece 0.58 17 South Africa 0.48 39 Brazil 0.46 45 Uganda 0.41 72 Mexico 0.35 101 Saudi Arabia 122 Burundi 0.12 126 Thailand 0.11 128 Iraq 140 Updated TRGI for Thailand ! ITU data (2012): 0.33 NBTC (2013): min of 0.53 max of 0.73

โอกาสและความสามารถในการแข่งขัน ในตลาดต่างประเทศ

อันดับในด้านบริการโทรคมนาคม (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) การจัดอันดับบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก Global 2000 โดย Forbes ด้านบริการโทรคมนาคม อันดับในด้านบริการโทรคมนาคม อันดับโดยรวม ชื่อบริษัท ประเทศ ยอดขายในปี ค.ศ. 2011 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) 18 295 SingTel สิงคโปร์ 14.3 38 726 Telekom Indonesia อินโดนีเซีย 7.6 46 1165 PLDT ฟิลิปปินส์ 3.6 47 1167 Advanced Info Service ไทย 4.0 49 1218 Maxis มาเลเซีย 2.8

การเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากร ในประเทศที่พัฒนาแล้ว

การเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากรในประเทศที่กำลังพัฒนา

สัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิม

สัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิม

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา ศึกษาการเติบโตของปริมาณการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ และโทรศัพท์ประจำที่ ในประเทศไทย โดยมุ่งไปที่ปัจจัยด้านการศึกษา การลงทุนจากต่างประเทศ และเวลา (ซึ่งรวมเอาการเปลี่ยนแปลงของประชากรและการขยายตัวของการใช้บริการ) ใช้ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๔ รวม ๑๖ ปี จาก ITU World communication/ ICT indicators database ของ World Bank ปริมาณการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ อัตราการเข้าศึกษาระดับมัธยมของปีที่ผ่านมา ไม่มีนัยสำคัญ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ ของปีที่ผ่านมา เวลา (ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการขยายตัวของการใช้บริการ--Diffusion)

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ตัวแปรที่ทำการศึกษา ปริมาณการใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ อัตราการเข้าศึกษาระดับมัธยมของปีที่ผ่านมา การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ ของปีที่ผ่านมา เวลา (ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการขยายตัวของการใช้บริการ--Diffusion)

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ การศึกษา การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ตัวแปรที่ทำการศึกษา ปริมาณการใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ อัตราการเข้าศึกษาระดับมัธยมของปีที่ผ่านมา ไม่มีนัยสำคัญ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ ของปีที่ผ่านมา เวลา (ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการขยายตัวของการใช้บริการ--Diffusion)

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลภาคตัดขวาง ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตของการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ การใช้อินเทอร์เน็ตส่วนบุคคล การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้อินเทอร์เน็ตภาคธุรกิจ และการให้บริการออนไลน์ของภาครัฐ มุ่งไปที่ปัจจัยด้านต่างๆ จำนวน 8 ด้าน ข้อมูลในปี พ.ศ. 2555 จำนวนตัวอย่าง 103 ประเทศ จาก World Economic Forum/ Networked Readiness Index กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT การใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย ความสามารถในการเรียนรู้ เทคโนโลยีของภาคธุรกิจ อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ค่าบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ICT การเข้าถึงเนื้อหาดิจิตอล ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ความครอบคลุมของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

ตัวแทนของการเติบโตของอุตสาหกรรม โทรคมนาคม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลภาคตัดขวาง (ต่อ) ตัวแปรที่ทำการศึกษา ตัวแทนของการเติบโตของอุตสาหกรรม โทรคมนาคม การใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่ (จำนวนเลขหมาย) การใช้อินเทอร์เน็ต ส่วนบุคคล (ร้อยละของประชากร) การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (คะแนนเต็ม 10) ของภาคธุรกิจ การให้บริการออนไลน์ ของภาครัฐ (ค่าดัชนี 0 ถึง 1) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT อัตราการใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ความครอบคลุมของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ การเข้าถึงเนื้อหาดิจิตอล ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ค่าบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ความสามารถในการเรียนรู้เทคโนโลยีของภาคธุรกิจ

ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม สรุป 1. ปริมาณการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขยายตัวตามเวลา พร้อมๆ กับการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร และการขยายตัวของการใช้บริการในหมู่ประชาชน 2. ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ขยายตัวทั้งตามเวลา การศึกษาที่เพิ่มขึ้นของของประชาชน และการเพิ่มขึ้นของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ 3. ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ต้องพึ่งพิงการขยายตัวของการลงทุนจากต่างประเทศ เนื่องจากความต้องการใช้ของคนในประเทศมีความอิ่มตัว 4. ปัจจัยที่มีผลทางบวกต่ออุตสาหกรรม ICT คือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา การเข้าถึงเนื้อหาดิจิตอล และความสามารถในการเรียนรู้เทคโนโลยีของภาคธุรกิจ 5. ปัจจัยที่มีผลทางลบต่ออุตสาหกรรม ICT คือ การใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย และราคาค่าบริการอินเทอร์เน็ต 6. ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ได้มีผลทางลบต่ออุตสาหกรรม ICT

ผลของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่มีต่อการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอื่น: การวิเคราะห์ค่าตัวทวี ประเทศ นักวิจัย ค่าตัวทวี (Type I) ค่าตัวทวี (Type II) ไทย (Communication) นลิตรา ไทยประเสริฐ 1.64 - ไทย (Construction of Communication Facilities) 1.44 สหรัฐอเมริกา Katz 1.83 3.42 Atkinson 2.58 3.60 สวิสเซอร์แลนด์ 1.38 เยอรมนี 1.45 1.94 สหราชอาณาจักร Liebenau 2.76 ที่มา: ค่าของประเทศไทยมาจากการคำนวณโดยผู้วิจัย ค่าของประเทศอื่น ๆ มาจาก Katz (2010) หมายเหตุ 1: ค่าตัวทวีของต่างประเทศเป็นค่าตัวทวีของภาคการก่อสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หมายเหตุ 2: Type I Multiplier = (Direct + Indirect)/Direct ส่วน Type II Multiplier = (Direct + Indirect + Induced)/Direct

การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบาย หรือมาตรการด้าน ICT

พิจารณาผลกระทบใน 7 ประเด็น ได้แก่ การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบาย หรือมาตรการด้าน ICT พิจารณาผลกระทบใน 7 ประเด็น ได้แก่ 1. การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมากขึ้น 2. การลดค่าบริการโรมมิ่ง 3. การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ 4. การใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันและสิทธิแห่งทาง 5. การขยายพื้นที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 6. การเปิดเสรีกิจการดาวเทียม 7. การตั้งห้องปฏิบัติการรองรับ MRA

2. การวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมากขึ้น 1. การทบทวนวรรณกรรม ไม่มีบทความทางวิชาการใด ๆ ที่แสดงให้เห็นว่า การเปิดให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนที่มากกว่ากึ่งหนึ่ง จะก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ รวมทั้งเอกราชของชาติ 2. การวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อดัชนีการแข่งขัน (Competitiveness index) และตัวแทนของการแข่งขัน คือ ราคาค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และราคาค่าบริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ โดยมุ่งไปที่สัดส่วนที่ให้คนต่างชาติถือหุ้นในกิจการ ข้อมูลในปี พ.ศ. 2555 จำนวนตัวอย่าง 96 ประเทศ จาก World Economic Forum / Networked Readiness Index และ World Bank

วัดผลที่เกิดกับ “ราคา” ซึ่งเป็นตัวแทนของการแข่งขัน ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมาก (ต่อ) ผลการศึกษา ดัชนีการแข่งขัน ราคา ค่าบริการ โทรศัพท์ เคลื่อนที่ อินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ OLS Tobit 1 Tobit 2 ความแข็งแกร่งในการปกป้องนักลงทุน ตัวแปรดัมมี่ แสดงถึงประเทศในเอเชีย สัดส่วนที่ให้คนต่างชาติถือหุ้นในกิจการ วัดผลที่เกิดกับการแข่งขันโดยตรง วัดผลที่เกิดกับ “ราคา” ซึ่งเป็นตัวแทนของการแข่งขัน สัดส่วนการถือหุ้นโดยคนต่างชาติที่เพิ่มขึ้นจะทำให้การแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ความแข็งแกร่งในการปกป้องนักลงทุน ทำให้นักลงทุนมั่นใจที่จะมาลงทุนในประเทศนั้น ๆ มากขึ้น จึงทำให้เกิดการแข่งขันเพิ่มขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากทั้งดัชนีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น และราคาค่าบริการอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ที่ลดลง

ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมากขึ้น (ต่อ) 3. การวิเคราะห์ด้วย Cost-benefit analysis กรณีของประเทศไทย IRR จะลดลงจาก 20.83% เหลือประมาณ 18.56% ผู้ประกอบการรายเดิมได้รับผลกระทบไม่มากนัก

ประเด็นที่ 2 การลดค่าบริการโรมมิ่ง นักท่องเที่ยวต่างชาติในไทย ประหยัดเงินจากบริการโรมมิ่งที่ลดลง นักท่องเที่ยวไทยประหยัดเงินจากบริการโรมมิ่งที่ลดลง บริษัทโทรคมนาคมไทยเสียรายได้ค่าบริการโรมมิ่ง ใช้จ่ายที่ประเทศไทย นำกลับมาใช้จ่ายที่ประเทศไทย ประเทศไทยจะได้ประโยชน์สุทธิเป็นบวก ก็ต่อเมื่อมีปริมาณการใช้บริการโรมมิ่งมากขึ้น อย่างน้อยในอัตราที่เท่ากับอัตราการลดค่าบริการโรมมิ่ง หากปริมาณการใช้บริการโรมมิ่งไม่เพิ่มขึ้น ประเทศไทยจะเสียประโยชน์สุทธิ

ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ ศึกษาความเป็นไปได้ของการมีผู้ประกอบการรายที่สอง เข้ามาแข่งขันในกิจการเคเบิ้ลใต้น้ำ การลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ การลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ใช้ข้อมูลการลงทุน ศึกษาจากกรณีการลงทุนของ CAT คือ โครงการ CSA (CAT Submarine Network) โครงการที่ CAT ให้บริการ PTTEP และ โครงการ APG (Asia-Pacific Gateway)

ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ)

ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ

ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ

ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) กิจการเคเบิ้ลใต้น้ำสำหรับการสื่อสารภายในประเทศ ไม่พร้อมที่จะมีผู้ประกอบการรายที่สองเข้ามาแข่งขัน โดยมีความเสี่ยงที่เมื่อมีการแข่งขันแล้ว จะทำให้ผู้ประกอบการทั้งสองรายจะประสบกับความไม่คุ้มค่าในการลงทุน กิจการเคเบิ้ลใต้น้ำสำหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ สามารถรองรับผู้ประกอบการรายที่สองได้

ประเด็นที่ 4 การใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันและสิทธิแห่งทาง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน ของโครงการลงทุนขยายพื้นที่บรอดแบนด์ ภายหลังจากการใช้มาตรการสิทธิแห่งทาง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของโครงการลงทุนขยายพื้นที่บรอดแบนด์ ภายหลังจากการใช้มาตรการสิทธิแห่งทาง

ประเด็นที่ 4 การใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันและสิทธิแห่งทาง (ต่อ) มาตรการสิทธิแห่งทางจะสามารถช่วยลดต้นทุนให้กับผู้ประกอบการได้ และจะช่วยเพิ่มอัตราผลตอบแทนของการลงทุน จึงควรสนับสนุนให้ใช้มาตรการนี้

ประเด็นที่ 5 การขยายพื้นที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน กรณีที่มีผู้แข่งขัน 1 ราย และราคาลดลงไม่เกินร้อยละ 20 หมายเหตุ: (1) ช่องสีเขียวหมายถึงค่า IRR มากกว่า discount rate 7% (2) กรณี best case ได้ค่า IRR เท่ากับ business as usual เนื่องจาก ราคาลดลง 0% ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน กรณีที่มีผู้แข่งขัน 2 ราย และราคาลดลงไม่เกินร้อยละ 50 หมายเหตุ: ช่องสีเขียวหมายถึงค่า IRR มากกว่า discount rate 7% สีส้มหมายถึงค่า IRR น้อยกว่า discount rate 7%

ประเด็นที่ 6 การเปิดเสรีกิจการดาวเทียม ศึกษาความเป็นไปได้ของการมีผู้ประกอบการรายที่สอง เข้ามาแข่งขันในกิจการดาวเทียม การลงทุนในดาวเทียมเพื่อถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอาศัย การลงทุนในดาวเทียมเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง วิเคราะห์ด้วย Cost benefit analysis โดยใช้ข้อมูลการลงทุน ศึกษาจากกรณีการลงทุนของ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) โครงการดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) และไทยคม 5

ประเด็นที่ 6 การเปิดเสรีกิจการดาวเทียม (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน ของการเปิดให้มีผู้เข้ามาแข่งขันรายที่สอง ในกิจการดาวเทียมประเภทถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงบ้าน ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของการเปิดให้มีผู้เข้ามาแข่งขันรายที่สอง ในกิจการดาวเทียมประเภทถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงบ้าน

ประเด็นที่ 6 การเปิดเสรีกิจการดาวเทียม (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน ของการเปิดให้มีผู้เข้ามาแข่งขันรายที่สอง ในกิจการดาวเทียมประเภทบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของการเปิดให้มีผู้เข้ามาแข่งขันรายที่สอง ในกิจการดาวเทียมประเภทบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

ประเด็นที่ 6 การเปิดเสรีกิจการดาวเทียม (ต่อ) การลงทุนในดาวเทียมเพื่อถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอาศัย มีโอกาสที่จะเปิดรับผู้ประกอบการรายที่สอง การลงทุนในดาวเทียมเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไม่พร้อมที่จะเปิดรับผู้ประกอบการรายที่สอง

ประเด็นที่ 7 การตั้งห้องปฏิบัติการรองรับ MRA ข้อตกลงรายสาขาว่าด้วยการยอมรับซึ่งกันและกัน ด้านการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน และด้านความเท่าเทียมกันทางมาตรฐานทางเทคนิค ภายใต้กรอบสภาหน่วยงานกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมแห่งอาเซียน (ATRC MRA) ข้อดี ข้อเสีย ลดภาระค่าใช้จ่ายในการทำการทดสอบและการรับรองที่ซ้ำซ้อน การทำ MRA-TE เป็นการให้อำนาจแก่ประเทศคู่สัญญาที่มาก ดังนั้นหากเกิดการผิดพลาดในกระบวนการทดสอบและ / หรือออกใบรับรองจากต่างประเทศแล้วนั้น สินค้าที่มาวางจำหน่ายในประเทศเราอาจไม่มีคุณภาพ หรือตกมาตรฐานการผลิต ลดระยะเวลาในการนำสินค้าเข้าสู่ตลาดสำหรับผู้ผลิตและผู้ส่งออกเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ เป็นเครื่องช่วยอำนวยความสะดวกทางธุรกิจด้านโทรคมนาคม ผู้บริโภคจะได้รับความสะดวกสบาย ประหยัด และมีสินค้าให้เลือกใช้หลายชนิดมากขึ้น

ประเด็นที่ 7 การตั้งห้องปฏิบัติการรองรับ MRA (ต่อ) ผลการวิเคราะห์ผลประโยชน์และต้นทุนของการจัดตั้ง ศูนย์ทดสอบ Specific Absorption Rate (SAR) ผลการศึกษา การวิเคราะห์ ทางการเงิน ทางเศรษฐศาสตร์ Worst case N/A 11% Base case 8.5% Best case 35% 34% หากทางสำนักงาน กสทช. มีความเห็นว่ามูลค่าของการคุ้มครองผู้บริโภค และการเปิดโอกาสแก่ผู้ผลิตในประเทศมีมากกว่า 6,124,000 บาทต่อปีแล้วนั้น ทางสำนักงาน กสทช. ควรสนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์ทดสอบ SAR ศูนย์ PTEC หรือศูนย์ EEI ควรเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งศูนย์ทดสอบ SAR ขึ้น เนื่องจาก มีความเชี่ยวชาญในการทดสอบ มีบุคลากรที่มีทักษะและประสบการณ์โดยตรง - มีความสามารถในการลดค่าใช้จ่ายในดำเนินงานต่อปี และค่าดูแลบำรุงรักษาต่อปี

สรุปผลกระทบของนโยบายหรือมาตรการด้าน ICT

จบการนำเสนอ