Set Operations การกระทำระหว่างเซต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
Advertisements

การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม (Circular Permutation)
BC320 Introduction to Computer Programming
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
นายสมศักดิ์ กาทอง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Mathematics for computing I
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
Introduction to Digital System
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Set Operations การกระทำระหว่างเซต พิศิษฐ์ นาคใจ

ถากำหนดเอกภพสัมพัทธ์ U และกำหนดเซต A และ B และเราสามารถนำเซต A , B และ U มาสร้างให้เกิดเซตใหม่ ได้ โดยใช้การดำเนินการเบื้องต้น ดังนี้ การกระทำของเซต มี 4 ชนิด คือ 1. ยูเนียน (Union) 2. อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) 3. ผลต่าง (Difference) 4. คอมพลีเมนต์

ยูเนียน นิยามบท ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ ยูเนียน (Union) ของ A กับ B เขียนแทนด้วย A  B คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ใน A หรืออยู่ใน B นั่นคือ A  B = {x | x  A v x  B}

แผนภาพ U B A A B U B A C U จากภาพ แสดง การยูเนียนของ set A และ set B ซึ่งจะทำการถูกลงสีภายในวงกลมของ A หรือวงกลม B พื้นที่ที่ถูกลงสีคือผลของการยูเนียน A และ B

ตัวอย่าง กำหนดให้ A = {a, b, c, e, f } และ B = { b, d, r, s } จงหา A  B กำหนดให้ A = {1, 3, 5} , B = {1, 2, 3} และ C = {1, 2, 3, 5} จงหา A  B  C กำหนดให้ A = {x | x  จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว} , B = {x | x  จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว} จงหา A  B

อินเตอร์เซกชั่น นิยามบท ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ อินเตอร์เซกซั่น (Intersection) ของ A กับ B เขียนแทนด้วย A  B คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ทั้งใน A และ B นั่นคือ A  B = {x | x  A ^ x  B}

แผนภาพ U B A C จากภาพ แสดง การอินเตอร์เซกชั่นของ set A และ set B ซึ่งพื้นที่ที่จะทำการถูกลงสีเมื่อสมาชิกอยู่ทั้งวงกลมของ A และวงกลม B พื้นที่ที่ถูกลงสีคือผลของการอินเตอร์เซกชั่น A และ B

ตัวอย่าง กำหนดให้ A = {a, b, c, e, f } และ B = { b, d, r, s } จงหา A  B กำหนดให้ A = {1, 3, 5} , B = {1, 2, 3} และ C = {1, 2, 3, 5} จงหา A  B  C กำหนดให้ A = {x | x  จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว} , B = {x | x  จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว} จงหา A  B

ตัวอย่างต่อ กำหนดให้ A = {0,1,2,3}, B = {0,1,2,3,4} และ C ={0} จงหา A  B , A  C , B  C กำหนดให้ A = {2,3,5,7} และ B={1,2,3,4,5,6,7,8,9,…} จงหา A B กำหนดให้ A = {0,1,2,3} และ B={4,5} จงหา A B

ผลต่าง (Difference) นิยามบท ให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ผลต่างของ A และ B เขียนแทนด้วย A- Bคือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ใน A แต่ไม่อยู่ใน B นั่นคือ A- B = {x | x  A และ x  B}

แผนภาพ U A B จากภาพ แสดงการหาผลต่างของ set A และ set B ซึ่งพื้นที่ที่จะทำการถูกลงสีเมื่อสมาชิกอยู่วงกลมของ A แต่ไม่อยู่ในวงกลม B พื้นที่ที่ถูกลงสีคือผลของการหาผลต่างของ set A และ set B

ตัวอย่าง กำหนดให้ U = {a, b, c, d, e, f, g, h, i, j, k } A = {a, b, c, e, f } และ B = { b, e, d, r, s } จงหา A’ , A – B , B - A

คอมพลีเมนต์ นิยามบท ให้ A เป็นเซตใด ๆ คอมพลีเมนต์ ของเซต A (Complement of A) เขียนแทนด้วย A' หรือ A คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ U แต่ไม่อยู่ใน A นั่นคือ A = {x | x  U และ x  A} หรือ A = {x | x  A}

แผนภาพ U A B จากภาพ แสดงการคอมพลีเมนต์ของ set A ซึ่งพื้นที่ที่จะทำการถูกลงสีคือพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ทั้งวงกลมของ A พื้นที่ที่ถูกลงสีคือผลของการคอมพลีเมนต์ของ A

ตัวอย่าง ให้ U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} และ A = {0,2} จงหา A’ ให้ U = {0, 1, 2, 3, 4} , A={0, 2, 4} และ B = {3, 4} จงหา (A  B)’ ให้ U = {x | x  จำนวนจริง} C={x | x  จำนวนจริง และ x เป็นจำนวนคู่} จงหา C’

คุณสมบัติอื่นๆ ของ set เมื่อ Set มีการถูกกระทำด้วย Operation ต่างๆ แล้วทำให้เกิด คุณบัติอื่นๆ ของ set ตามมาดังนี้ 1. Disjoint 2. symmetric difference

คุณสมบัติอื่นๆ ของ set Disjoint หมายถึงการที่ set A และ B ทำการ Intersection กันแล้วเกิด Set ว่างเราจะเรียก setA และ B เป็น Disjoint set กัน symmetric difference หมายถึงเซตของสมาชิกทั้งหมดของ A หรือ B แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A และ B เขียนแทนด้วย เขียนแทนด้วย A  B A B U

เอกลักษณ์ ของ Set Identity Name A   = A A  U = A Identity Laws A  U= U A   =  Domination Laws A  A = A A  A = A Idempotent laws (A’’) = A Complementation laws A  B = B  A A  B = B  A Commutative laws

เอกลักษณ์ ของ Set Identity Name A  (B  C) = A  (B  C) Associative laws A  (B  C) = (A  B)  (A  C) A  (B  C) = (A  B)  (A  C) Distributive laws A  B = B  A A  B = B  A De Morgan’s laws

Proof De Morgan’s laws A  B = B  A จงพิสูจน์ กำหนดให้ x  A  B ……

ตัวอย่าง จงพิสูจน์ A  B  C = (C  B)  A Solution A  B  C = A  (B  C) = A  (B  C) = (B  C)  A = (C  B)  A

การหาจำนวนสมาชิกของเซตโดยหลักการรวม (The Addition Principle) ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัดใน U ซึ่ง A และ B ไม่มีส่วนร่วมกัน (disjoint set) จำนวนสมาชิก AB คือ |AB| = |A| + |B| ถ้า A และ B มีสมาชิกร่วมกันดังภาพ AB ผลรวมของสมาชิก |A|+|B| จะเป็นการนับสมาชิกที่เหมือนกันรวมเข้าไปด้วย ดังนั้นจึงต้องทำการลบ |AB| เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ทฤษฎีนี้เรียกว่าหลักการรวม หรือ หลักการรวม - หลักการแยก A B U 1 2 3

ทฤษฎีบท 1 ดังนั้น ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัด ดังนั้น AB และ AB เป็นเซตจำกัด แล้ว กำหนดให้ A = { a, b, c, d, e } และ B = { c, e, f, h, k, m } จะได้ว่า วิธีทำ AB = { a, b, c, d, e, f, h, k, m } AB = { c, e } ดังนั้น |A| = 5 , |B| = 6 , |AB| = 9 และ |AB| = 2 ซึ่ง |AB| = |A| + |B| - |AB| = 5 + 6 - 2 = 9 ตามทฤษฎีบท |A  B| = |A| + |B| - |A  B|

ตัวอย่างที่ จากผลการสอบของนักเรียนห้องหนึ่งมีจำนวน 57 คน พบว่ามีนักเรียนสอบคณิตศาสตร์ได้ 32 คน มีนักเรียนสอบภาษาอังกฤษได้ 35 คน และมีนักเรียนสอบได้ทั้งสองวิชา 10 คน จง จำนวนนักเรียนที่สอบคณิตศาสตร์ได้ แต่สอบภาษอังกฤษตก จำนวนนักเรียนที่สอบภาษาอังกฤษได้ แต่คณิตศาสตร์ตก จำนวนนักเรียนที่สอบตกทั้งสองวิชา

|A  B  C| = |A| + |B| + |C| - |AB| - |AC| - |BC| + |ABC| ทฤษฎีบท 2 ถ้า A, B และ C เป็นเซตจำกัด ดังนั้น ABC เป็นเซตจำกัด แล้ว |A  B  C| = |A| + |B| + |C| - |AB| - |AC| - |BC| + |ABC|

ตัวอย่าง จากการสำรวจการใช้ผงซักฟอกของแม่บ้านพวว่า แม้บ้านที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A,B,C จำนวน 30% 40% และ 50% ตามลำดับ โดยที่แม่บ้านที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A และ B 10% ใช้ยี่ห้อ A และ C 15% ใช้ยี่ห้อ B และ C 20% ใช้ทั้ง A,B,C มี 3 % อยากทราบว่า แม่บ้านที่ใช้ผงซักฟอก A,B หรือ C อย่างน้อย 1 ยี่ห้อมีกี่เปอร์เซ็นต์ แม่บ้านที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้ออื่นที่ไม่ใช่ A,B หรือ C มีกี่เปอร์เซ็น

Quiz ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง A  (B  C) = (A  B)  (A  C) A  B = {x | x  A หรือ x  B} A = {x | x  A} U   =  A  B และ B  A แล้ว A-B = B-A