การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
Case 1 ผู้นำเสนอ นางยุวกานดา ศรีวริสาร เจ้าพนักงานสาธารณสุข ชุมชน.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ข้อมูลวันที่ 1 ม. ค เม. ย ผู้ป่วย 28,607 ราย - อัตราป่วย ต่อ ปชก. แสนคน - เสียชีวิต 31 ราย - อัตราตาย 0.05 ต่อ ปชก. แสนคน Influenza.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สาขาโรคมะเร็ง.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย โดย นายชำนาญ มีมูล สาธารณสุขอำเภอ

แผนที่ อ.ด่านซ้าย เสียชีวิต Confirm case carrier

สถานการณ์โรค diptheria ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค diphtheria จำนวนทั้งสิ้น 21 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 41.34 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย อัตราการตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 3.94 อัตราผู้ตายเท่ากับร้อยละ 9.25 พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 11 ราย เพศชาย 10 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1.10 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ กลุ่มอายุ 10 -14 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 6 ราย รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 35 - 44 ปี , 25 – 34 ปี,5 – 9 ปี 15 – 24 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 5,4,4,2

จำนวนผู้ป่วยคอตีบ ตำบล confirm case suspected case carrier ที่ยืนยัน ที่ยังไม่ยืนยัน รวม ด่านซ้าย 1 - 2 4 นาดี โคกงาม โพนสูง อิปุ่ม 7 12 6 32 กกสะทอน 9 11 20 โปง 13 18 วังยาว 27 29 ปากหมัน นาหอ 21 48 100 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ส.ค. 55

การดำเนินงาน คัดกรอง (screening) ค้นหา (Investigate) สร้างภูมิคุ้มกัน (Immune) การควบคุม / ติดตาม / การให้ความรู้ (Health Education)

คัดกรอง ผู้ที่มีอาการ ไข้ เจ็บคอ มีแผ่นฝ้าขาว ผู้ที่มีอาการ ไข้ เจ็บคอ มีแผ่นฝ้าขาว ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้ที่อาศัยอยู่ภายในหมู่บ้านเดียวกับผู้ป่วย และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย เช่น อาศัยอยู่บ้านเดียวกัน ทานอาหารร่วมกัน ทำงานอยู่ด้วยกัน ในช่วง 14 วันทั้งก่อนและหลังที่ผู้ป่วยจะมีอาการดังกล่าว

ค้นหา ผู้สัมผัส ในบ้าน/ ชุมชน/ โรงเรียน

ฉีดนอกเป้าหมาย >45 ปี รวมผู้ได้รับวัคซีนทั้งหมด สร้างภูมิคุ้มกัน ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2555 ถึง 18 สิงหาคม 2555 ตำบล จำนวนหมู่บ้าน เป้าหมาย กลุ่มอายุ 0-45 ปี ผลงานการฉีดวัคซีน ฉีดนอกเป้าหมาย >45 ปี รวมผู้ได้รับวัคซีนทั้งหมด %ความครอบคลุม กกสะทอน 10 3,873 3,774 432 4,206 98.29 อิปุ่ม 13 2,629 2,351 127 2,468 89.42 วังยาว 3 704 668 46 714 94.89 ด่านซ้าย 17 4,016 3,043 887 3,930 75.77 นาหอ 1 90 - 100.00 กลุ่ม จนท.สาธารณสุข รพ.+สสอ. 266 196 73.68 รวม 44 11,578 10,122 1,482 11,604 87.42

ออกฉีดวัคซีน dT

การควบคุม / ติดตาม / การให้ความรู้ การควบคุม /ติดตาม - ผู้สัมผัสร่วมบ้านให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดโรคคอตีบจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข โดยติดตามอาการทั้งหมด 14 วันหลังจากเริ่มรับประทานทานยา การให้ความรู้ - อบรม จนท. รพสต.ทุกแห่งให้ทราบนิยามและค้นหาผู้ป่วยได้ สามารถทำ throat swab ได้ถูกต้อง - จัดประชุมให้ความรู้ อสม. 97 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน วันที่ 17 สิงหาคม 2555 โดยมีกุมารแพทย์ให้ความรู้ - จัดประชุมผู้อำนวยการโรงเรียนจำนวน 69 คน วันที่ 23 สิงหาคม 2555 อบรมและสอนการใช้หน้ากากอนามัย

ทำ throat swab เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อ

กาอบรมให้ความรู้แก่ครู / อสม. /นักเรียน

ภาพกิจกรรม

สวัสดี