สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก (HFMD) จ.ร้อยเอ็ด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคไข้เลือดออก.
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
เทคนิคการออกสอบสวนโรค สุทธิลักษณ์ หนูรอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การเป็นลมและช็อก.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
เครือข่ายครูและผู้ดูแลเด็ก ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก (HFMD) จ.ร้อยเอ็ด ปี 2555 ตั้งแต่ 1 ม.ค. - 15 ก.ค.55 มีรายงานผู้ป่วย 176 ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราป่วย 13.44 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยมากกว่าปี 2554 ประมาณ 2.7 เท่า

กลุ่มอายุผู้ป่วยโรคมือเท้าปาก (HFMD) จ.ร้อยเอ็ด ปี 2555 ร้อยละ @ กลุ่มอายุที่พบว่ามีรายงานผู้ป่วยสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 1- 2 ปี (ร้อยละ 55.11) และ กลุ่มอายุ 3 - 4 ปี (ร้อยละ 32.39) @ ส่วนใหญ่พบการระบาดในศูนย์เด็กเล็ก @ ปัจจัยเสี่ยง : การเล่นคลุกคลีกับเด็กที่ป่วย การใช้แก้วน้ำ ผ้าเช็ดมือร่วมกัน

สถานการณ์โรคมือเท้าปาก จำแนกรายอำเภอ จ.ร้อยเอ็ด ปี 2555 สถานการณ์โรคมือเท้าปาก จำแนกรายอำเภอ จ.ร้อยเอ็ด ปี 2555 พบผู้ป่วย 176 ราย 16 อำเภอ

จำนวนผู้ป่วยโรคมือเท้าปาก จำแนกรายอำเภอ รายเดือน จ.ร้อยเอ็ด ปี 2555

โรค มือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease) สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสลำไส้ หรือ เอนเทอโรไวรัส หลายชนิด (EV71) พบบ่อยในกลุ่มเด็กทารก และ เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โรคเกิด ประปรายตลอดปี เพิ่มมากขึ้น ในหน้าฝน ช่วงอากาศเย็น และ ชื้น โดยทั่วไป อาการไม่รุนแรง ผื่น และตุ่มน้ำใส หายได้เอง ในเวลา 5 - 7 วัน 

เชื้อเอนเทอโรไวรัส

อาการที่สำคัญ 1 หลังได้รับเชื้อ 3-6 วัน จะเริ่มแสดงอาการป่วย หลังได้รับเชื้อ 3-6 วัน จะเริ่มแสดงอาการป่วย เริ่มด้วย มีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย ต่อมาอีก 1-2 วัน จะพบ ตุ่ม หรือ ผื่นนูนสีแดงเล็ก (มักไม่คัน) ที่ฝ่ามือ นิ้วมือ (มักอยู่ที่ด้านข้างของนิ้ว) ฝ่าเท้า (มักอยู่ที่ส้นเท้า) บริเวณอื่น : หัวเข่า ข้อศอก หรือ ก้น ในปาก : เป็นตุ่มแดงที่ลิ้น เหงือก หรือ กระพุ้งแก้ม หลังจากเด็กได้รับเชื้อ 3-6 วัน จะเริ่มมีอาการไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ต่อมาอีก 1-2 วัน จะพบตุ่ม หรือผื่นนูนสีแดงเล็ก ไม่คัน ที่ฝ่ามือ ข้างนิ้วมือ ที่ส้นเท้า มีอาการเจ็บปาก เนื่องจากมีตุ่มแดง อักเสบที่ลิ้น เหงือก และ กระพุ้งแก้ม อาจพบที่บริเวณหัวเข่า ข้อศอก หรือ ก้น ตุ่มนี้จะกลายเป็นตุ่มพองใส รอบ ๆ ตุ่มพองจะอักเสบ แดง และ แตกเป็นแผลหลุมตื้น ๆ ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บในปาก ทำให้ทานอาการได้น้อย อาการจะดีขึ้นและหายเป็นปกติได้เอง ภายใน 7-10 วัน

อาการที่สำคัญ 2 ตุ่มจะกลายเป็น ตุ่มพองใส บริเวณ รอบๆอักเสบ และ แดง กดแล้วเจ็บ ต่อมา จะแตกออก เป็นแผลหลุมตื้นๆ ระยะนี้ เด็กจะมีอาการ เจ็บปาก รับประทานอาหารได้น้อย อาการจะทุเลา และ หายเป็นปกติ ภายใน 7-10 วัน

การติดต่อ สัมผัสโดยตรงจากสารคัดหลั่ง : จมูก, ลําคอ และ นํ้าในตุ่มใส อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ (fecal - oral route ) แพร่กระจายมากที่สุด คือ ในสัปดาห์แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ ยังแพร่เชื้อได้จนกว่ารอยโรคจะหายไป แต่ก็ยังพบเชื้อในอุจจาระผู้ป่วยต่อได้อีกประมาณ 2-3 สัปดาห์ เชื้อเอนเทอโรไวรัส สามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้ เชื้อมีชีวิตอยู่ในอุณหภูมิห้องได้ 2-3 วัน โรคนี้ไม่สามารถติดต่อ จากคนสู่สัตว์ หรือ จากสัตว์สู่คนได้

การรักษา ผู้ปกครอง/ครูพี่เลี้ยง หายได้เอง ( 7 วัน) การรักษาประคับประคอง และ บรรเทาอาการ การลดไข้ และลดอาการเจ็บปวด จากแผลในปาก ภาวะแทรกซ้อน อยู่ในความดูแลแพทย์ มีภูมิคุ้มกัน เฉพาะต่อเชื้อไวรัสที่ก่อโรค ผู้ปกครอง/ครูพี่เลี้ยง สังเกตอาการที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง : ไข้สูง ซึม อาเจียนบ่อยๆ ไม่ยอมรับประทานอาหารและ นํ้า  แจ้งผู้ปกครอง /แจ้งจนท. รพ.สต.

จะทำลายเชื้อได้อย่างไร โดยแสงอัลตราไวโอเล็ต ในสภาพที่แห้ง โดยการต้มที่ 50-60 oC นาน 30 นาที โดยใช้น้ำยาซักล้างทั่วไป โซเดียมไฮโปคลอไรด์ 1% โดยใช้น้ำประปา ที่มีคลอรีน 0.2-0.5 ppm. โดยวิธีทำให้ปราศจากเชื้อ การทำลายเชื้อ โดยใช้วิธีการต่าง ๆ ดังนี้ -โดยแสงอัลตราไวโอเล็ต ในสภาพที่แห้ง เชื้อจะมีชีวิตอยู่ไม่นาน -โดยการต้มที่ 50-60 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที -น้ำยาซักล้างทั่วไป โซเดียมไฮโปคลอไรด์ (Sodium Hypochlorite) 1% หรือ กลูตาราลดีไฮด์ (Glutaraldehyde), ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) 0.3%และคลอรีนผสมน้ำ 0.1 ppm (part per million) หากทำลายเชื้อในอุจจาระจะต้องใช้คลอรีนที่เข้มข้นมากกว่านี้ -โดยวิธีทำให้ปราศจากเชื้อ (pasteurization), steam sterilization, Ethylene Oxide Sterilization(ETO) และ hydrogen peroxide gas plasma

การป้องกันโรค โรคนี้ ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน ป้องกันโดยการ รักษาสุขอนามัย หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น แก้วน้ำ หลอดดูด ผ้าเช็ดหน้า และผ้าเช็ดมือ เป็นต้น จัดให้มีอ่างล้างมือ และส้วมที่ถูกสุขลักษณะ

การป้องกันโรค หากพบเด็กป่วย รีบป้องกัน ไม่ให้เชื้อแพร่ ไปยังเด็กคนอื่น ๆ แนะนำผู้ปกครองให้รีบพาเด็กไปพบแพทย์และหยุดรักษาตัวที่บ้านประมาณ 7 วันหรือจนกว่าจะหายเป็นปกติ ไม่ควรพาเด็กไปในสถานที่แออัด เช่น สนามเด็กเล่น สระว่ายน้ำ และ ห้างสรรพสินค้า

หากมีเด็กป่วยจำนวนมากในโรงเรียน หรือสถานรับเลี้ยงเด็ก ควรทำอย่างไร มาตรการช่วงที่เกิดโรคระบาดต้องเน้นการสกัดกั้นการแพร่กระจายของเชื้อ ซึ่งอาจมีความจำเป็นจะต้องประกาศเขตติดโรคและปิดสถานที่ อาคาร สระว่ายน้ำ สนามเด็กเล่น ฯลฯ หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับเด็กป่วย และเน้น การล้างมือบ่อยๆ ในกรณีที่มีการระบาดของโรค มือ เท้าปาก ต้องมีการสกัดกั้นไม่ให้มีการแพร่กระจายเชื้อ โดยการประกาศเขตติดโรค ปิดสถานที่รับเลี้ยงเด็กอ่อน โรงเรียนเด็กเล็กสระว่ายน้ำ หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับเด็กป่วย ทำความสะอาดสถานที่ที่มีเด็กป่วย โดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ และควรดำเนินการดังนี้

ควรแยกของใช้ไม่ให้ปะปนกัน เช่น แก้วน้ำ ช้อนอาหาร ฯลฯ แจ้งการระบาดไปยังหน่วยงานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ (สอบสวนการระบาด ให้ความรู้ และคำแนะนำ) เผยแพร่คำแนะนำเรื่อง โรคมือเท้าปาก แก่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน รวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคติดต่อ โดยเฉพาะการล้างมือและการรักษาสุขอนามัยของสภาพแวดล้อม ควรแยกของใช้ไม่ให้ปะปนกัน เช่น แก้วน้ำ ช้อนอาหาร ฯลฯ เฝ้าระวัง โดยตรวจเด็กทุกคน หากพบคนใดที่มีอาการโรคมือ เท้า ปาก ต้องรีบแยกออกและให้หยุดเรียน 7 -10 วัน หรือจนกว่าจะหาย -แจ้งการระบาดไปยังหน่วยงานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ไปสอบสวนการระบาด ให้ความรู้ และคำแนะนำ -เผยแพร่คำแนะนำเรื่อง โรคมือเท้าปาก แก่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน รวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคติดต่อ โดยเฉพาะการล้างมือและการรักษาสุขอนามัยของสภาพแวดล้อม และควรแยกของใช้ไม่ให้ปะปนกัน เช่น แก้วน้ำ ช้อนอาหาร ฯลฯ -เฝ้าระวัง โดยตรวจเด็กทุกคน หากพบคนใดที่มีอาการโรคมือ เท้า ปาก ต้องรีบแยกออกและให้หยุดเรียน 7 -10 วัน หรือจนกว่าจะหายป่วย เพื่อป้องกันไม่ให้แพร่เชื้อไปยังเด็กคนอื่น ๆ

การค้นหาผู้ป่วย

ขอบคุณ