หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
What is the optimum stocking rate ?
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การปลูกพืชกลับหัว.
การเก็บตัวอย่างปัสสาวะเพื่อวิเคราะห์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น
เครื่องถ่ายเอกสาร.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
= = = = = = = = = =1 Sum = 30 Sum = 16 N = 10 N-1 = 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์

หลักการและเหตุผล. - ปี 2542 - 2544 หนอนกออ้อยระบาดขยาย หลักการและเหตุผล - ปี 2542 - 2544 หนอนกออ้อยระบาดขยาย พื้นที่ประมาณ 540,000 ไร่ - ผลผลิตอ้อยลดลง 40 - 97 เปอร์เซ็นต์ - การแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมไม่ควรทำลาย สภาพแวดล้อม - การใช้ศัตรูธรรมชาติ นำไปใช้แก้ปัญหา แมลงศัตรูอ้อยอย่างถูกต้องและเหมาะสม

วัตถุประสงค์. ผลิตไข่แตนเบียน Trichogramma

การผลิตแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา มี 2 ขั้นตอน 1 การผลิตแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา มี 2 ขั้นตอน 1. การเลี้ยงขยายผีเสื้อข้าวสาร

1.1 คั่วรำเพื่อฆ่าแมลงต่าง ๆ

1.2 นำรำมาใส่กล่องพลาสติก

1.3 โรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร 0.01 กรัม/รำ 1 กิโลกรัม

1.4 ปิดฝาครอบนำไปเก็บไว้บนชั้นเลี้ยงแมลง

1.5 ประมาณ 40 - 45 วัน ผีเสื้อข้าวสารจะโตเต็มวัย ในช่วงเช้า ใช้เครื่องดูดตัวเต็มวัยเก็บใส่ในกล่อง

สำลีชุบน้ำผึ้งเจือจาง 1.6 นำตัวผีเสื้อข้าวสารใส่ถุงตาข่ายไนล่อน มีสำลีชุบน้ำผึ้ง เจือจางไว้เป็นอาหารแล้ววางไว้บนชั้นมีถาดรองรับไข่ สำลีชุบน้ำผึ้งเจือจาง น้ำผึ้งเจือจาง

1.7 เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นำไข่มาเคาะลงในถาด 1.7 เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นำไข่มาเคาะลงในถาด ไข่ผีเสื้อข้าวสาร

1.8 ทำความสะอาดไข่โดยใช้ตะแกรงร่อน

1.9 นำไข่ที่ได้มาชั่งน้ำหนักเพื่อทราบปริมาณไข่ที่ผลิตได้

1.10 ไข่ 20 % แบ่งไว้ขยายผีเสื้อข้าวสาร - 80 % ขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ไข่ 80 % ไข่ 20 %

2. วิธีการเลี้ยงขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา

2. 1 วัดกระดาษสำหรับติดไข่ 2. 5 x 2. 5 ซม. คิดเป็นพื้นที่ 6

2.2 ทากาวในพื้นที่ 6.25 ตารางเซนติเมตร แล้วโรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร

2.3 นำกระดาษที่โรยไข่ผีเสื้อข้าวสารแล้วไปผ่านแสง ยูวี ขนาด 30 วัตต์ นาน 15 นาที

2.4 นำแผ่นไข่ที่ผ่านแสงยูวีมาใส่ลงบนแผ่น พ่อ แม่พันธุ์ แตนเบียนแล้วให้กระดาษปิดกล่องไม้

2.5 นำไปวางไว้บนชั้นที่เตรียมไว้ เมื่อครบ 7 วัน จะเข้าสู่ระยะดักแด้

2. 6 ทำการคัดเลือกแผ่นดี - แผ่นเสีย - แผ่นดี เตรียมไว้แจกเกษตรกร 2.6 ทำการคัดเลือกแผ่นดี - แผ่นเสีย - แผ่นดี เตรียมไว้แจกเกษตรกร - แผ่นเสียเก็บไว้เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป

แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ทาจารบีเพื่อป้องกันมด วิธีปล่อยแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา - ปล่อยหลังเวลา 16.00 น. - อยู่เหนือทิศทางลม - ปล่อย 6 จุด/1ไร่ - 20,000-30,000 ตัว/ไร่ แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ทาจารบีเพื่อป้องกันมด

สรุป ปี 2548 ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์ ได้ผลิตและจ่ายให้เกษตรกร 128,440,000 ตัว หรือพื้นที่ 6,422 ไร่

สวัสดี