ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
กลุ่ม อินทนนท์.
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
การแต่งตั้งข้าราชการ
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
การขยายห้องเรียนพิเศษของสถานศึกษา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
ปัญหาอุปสรรค 1) หมายเลขบัตรประชาชน ไม่ครบ 13 หลัก ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง.
ผลการดำเนินงานของจังหวัด
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
ธนาคารของรัฐบาล ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.
การอนุมัติงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ เป็นขั้นตอนที่จะทำให้งบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมาย โดยหลังจากขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเสร็จสิ้นแล้ว.
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.

ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
นายอิศรพันธ์ กาญจนเรขา นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑

การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 1 การประชุมประเมินสถานการณ์ การปฏิบัติ รอง นรม./สมช./กอ.รมน. พิจารณา สนย.กอ.รมน.ประสาน เสนอขอความเห็นชอบจาก ครม. - สถานการณ์เป็นไปตามมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.ฯ/เงื่อนไขการใช้ พ.ร.บ.ฯ - ความจำเป็นการจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจรับผิดชอบและมอบหมายให้ สตช.รับผิดชอบ - กฎหมายที่จำเป็นต้องใช้ตามที่หน่วยรับผิดชอบร้องขอ - ข้อกำหนดที่เจ้าหน้าที่จำเป็นต้องใช้ตามที่หน่วยรับผิดชอบร้องขอ - พิจารณาแผนปฏิบัติการ ครม.ให้ความเห็นชอบ การประกาศพื้นที่ฯ และการใช้ข้อกำหนด ตามที่ กอ.รมน.เสนอ

อนุมัติ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ กอ.รมน.เสนอ ขั้นที่ 2 ครม./ครม.พิเศษ การปฏิบัติ อนุมัติ สนย.กอ.รมน.ประสาน/จัดทำ เอกสารแจกจ่ายให้ คกก.รมน.ทราบ (200 ชุด) - ประกาศพื้นที่/ห้วงเวลา มาตรา 15 - ประกาศการโอนกฎหมาย มาตรา 16 วรรคท้าย - ข้อกำหนด (6 ข้อหรือน้อยกว่า) มาตรา 18 ส่งเรื่องประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีผลบังคับใช้

การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 3 การปฏิบัติ นรม./รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน ประชุมกรรมการ อำนวยการ กอ.รมน. สนย.กอ.รมน.เชิญ/ จัดการประชุม คกก.รมน. (ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้) พิจารณาให้ความเห็นชอบ อนุมัติคำสั่งจัดตั้ง ศอ.รส. โดยมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบชัดเจน - การจัดตั้งศูนย์และมอบผู้รับผิดชอบ มาตรา 17 - โครงสร้างการจัดและอำนาจหน้าที่ของศูนย์ มาตรา 17 - แผนปฏิบัติการ (มาตรา 16(2) (ลงนามโดย ผอ.ศูนย์ฯ) ให้ความเห็นชอบคำสั่งปฏิบัติการ

เป็นขั้นที่ 2 เพื่อประสาน และการแก้ปัญหาของศูนย์ฯ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 3 กอ.รมน.ยกระดับ ศตส.ฯ เป็นขั้นที่ 2 เพื่อประสาน และติดตามสถานการณ์ และการแก้ปัญหาของศูนย์ฯ - แต่งตั้งเจ้าพนักงาน ตร.เป็นเจ้าพนักงาน กอ.รมน. - ประกาศรายละเอียดของข้อกำหนด ผบ.ตร. ศูนย์เฉพาะกิจ กำลัง ตร. เจ้าหน้าที่ทหาร (เมื่อประสาน)

รายงานผลให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ เมื่อสถานการณ์ปกติ นรม.ประกาศสิ้นสุด รายงานผลให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบ

ข้อเปรียบเทียบกฎหมายความมั่นคง ขั้นตอนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 ครม. ประกาศพื้นที่ ปรากฏเหตุการณ์ฯ (ม.15) ศูนย์อำนวยการ จัดทำโครงสร้าง อัตรากำลัง อำนาจหน้าที่ แผนการปฏิบัติ สมช.หรือ กอ.รมน. โอนกฎหมาย (ม.18) ศูนย์อำนวยการ นรม. เสนอ เหตุการณ์ อันกระทบ รายงาน ผลการปฏิบัติ รายงาน ผลต่อสภาฯ ออกข้อกำหนด (ม.18) มอบให้ กอ.รมน. รับผิดชอบ คณะกรรมการ อำนวยการ ให้ความเห็นชอบ เกิดเหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในฯ สิ้นสุด

พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 ประกาศพื้นที่ ปรากฏเหตุการณ์ฯ กอ.รมน.มีอำนาจ หน้าที่ - ปราบปราม ระงับ ยับยั้ง แก้ไข บรรเทาเหตุการณ์ - จัดทำแผนเสนอคณะกรรมการฯ กรณีจำเป็นเพื่อ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผอ.รมน.โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการฯ มีอำนาจ จัดตั้งศูนย์อำนวยการ หรือ หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - มีเหตุการณ์กระทบต่อความมั่นคง (สมช. และ กอ.รมน.) - ครม.ประกาศพื้นที่ให้ กอ.รมน. แก้ไขปัญหาในเวลาและพื้นที่ที่กำหนด ให้ กอ.รมน.หารือร่วมกับ สมช.และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องถ้ามี ความจำเป็นต้องใช้อำนาจตามกฎหมายของส่วนราชการอื่น 1. ครม. มีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ กอ.รมน.เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายนั้น 2. ครม.มีมติให้หน่วยงานของรัฐ มอบอำนาจตามกฎหมายให้ กอ.รมน. ดำเนินการแทนหรือ ดำเนินการด้วยภายในพื้นที่และเวลาที่กำหนด ออกข้อกำหนด มาตร 18 (6 ข้อ)

ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑